HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?

09 ก.ย. 2022

คนมากมายเติบโตมาเพื่อรอคอยวันที่พวกเขาจะมีลูกและครอบครัวที่สมบูรณ์ อย่างไรก็ตาม หลายคนพบว่าพวกเขาไม่สามารถมีลูกได้แม้ว่าจะพยายามมากเท่าไรก็ตาม หากคุณกำลังประสบปัญหาในการตั้งครรภ์ ข่าวดีคือมีการรักษาภาวะมีบุตรยาก นั่นหมายความว่าคุณยังสามารถมีครอบครัวตามที่ฝันได้ อย่างไรก็ตาม ก่อนที่คุณจะรักษาภาวะมีบุตรยาก คุณจำเป็นต้องทราบว่าอะไรคือสาเหตุที่ส่งผลต่อภาวะการมีบุตรยาก 

มีสาเหตุที่เป็นได้มากมายที่ก่อให้เกิดภาวะมีบุตรยาก แต่ละสาเหตุสามารถรักษาได้ด้วยวิธีที่แตกต่างกัน และต่อไปนี้คือสาเหตุที่เราพบบ่อยที่สุด

ความผิดปกติในการหลั่ง (ผู้ชาย)

ผู้ชายบางส่วนมีความผิดปกติในการหลั่งซึ่งเป็นสาเหตุที่พวกเขาไม่สามารถทำให้คู่รักของตนตั้งครรภ์ได้ ยกตัวอย่าง ผู้ชายบางส่วนอาจไม่สามารถหลั่งได้โดยสิ้นเชิง ในขณะที่บางส่วนอาจประสบปัญหาการหลั่งเร็ว ทำให้ยากที่จะมีเพศสัมพันธ์ ความผิดปกติเช่นนี้มักจะมาจากสภาวะทางสรีรวิทยาหรือจิตวิทยาหรือทั้งสอง ในบางกรณีสามารถรักษาได้ด้วยยาหรือการบำบัด

ภาวะที่คล้ายกันคือภาวะเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ (erectile dysfunction syndrome: EDS) ซึ่งหมายความว่าผู้ชายไม่สามารถทำให้องคชาติแข็งตัว ทำให้มีเพศสัมพันธ์ยาก อย่างไรก็ตาม ในกรณีส่วนใหญ่มียาที่สามารถรักษาภาวะดังกล่าวได้

โรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ 

เยื่อบุโพรงมดลูกคือเยื่อบาง ๆ ที่บุผนังชั้นในของมดลูก ในบางคน เยื่อนี้อาจไปเจริญเติบโตในที่ต่าง ๆ เช่น รังไข่ ซึ่งอาจเป็นอันตรายและส่งผลให้เกิดภาวะมีบุตรยากหากอาการร้ายแรง

น่าเศร้าที่ยังไม่มีการรักษาให้หายขาดสำหรับโรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ อย่างไรก็ตามก็มีการรักษาที่ช่วยลดความรุนแรงของอาการและอาจเพิ่มภาวะเจริญพันธุ์ให้แก่ผู้ป่วยได้

เนื้องอกในมดลูก 

เนื้องอกในมดลูก (Fibroids) เป็นที่รู้จักในอีกชื่อว่า leiomyomas หรือ myomas เนื้องอกในมดลูกคือเนื้องอกที่พบด้านในและนอกมดลูก เนื้องอกเหล่านี้ไม่ใช่มะเร็งแต่สามารถเจริญเติบโตจนก่อปัญหาได้ ยกตัวอย่างปัญหาต่อไปนี้:

  • ปวดท้อง
  • ประจำเดือนมามากหรือปวดท้องประจำเดือนมาก
  • ท้องผูก
  • ปัสสาวะบ่อย
  • ปวดท้องขณะมีเพศสัมพันธ์

ในหลายกรณี เนื้องอกในมดลูกไม่เป็นอันตรายและไม่จำเป็นต้องรักษา อย่างไรก็ตาม เนื้องอกในมดลูกสามารถรักษาได้ด้วยยาที่ทำให้เนื้องอกมีขนาดเล็กลง นอกจากนี้ผู้ป่วยยังสามารถรับประทานยาที่ช่วยบรรเทาอาการที่เกิดจากภาวะนี้ได้

ภาวะฮอร์โมนเพศชายต่ำ (ผู้ชาย) 

ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนผลิตจากอัณฑะและเกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างอสุจิ ภาวะฮอร์โมนเพศชายต่ำคือภาวะที่อัณฑะผลิตฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนไม่เพียงพอ ซึ่งหมายความว่าผู้ป่วยจะมีปริมาณอสุจิน้อยและแรงขับทางเพศต่ำ

ภาวะฮอร์โมนเพศชายต่ำมักเกิดจากยา ยาเสพติด เนื้องอก และปัจจัยอื่น ๆ  โดยปกติแล้วภาวะนี้สามารถรักษาได้ด้วยการให้ฮอร์โมนทดแทน (hormone replacement therapy: HRT) ซึ่งจะทดแทนฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนที่ขาดหายไปได้

ยารักษาโรคและยาเสพติด

เป็นที่ทราบกันว่ายารักษาโรคและยาเสพติดบางตัวเป็นสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก โดยเฉพาะอนาบอลิกสเตียรอยด์ (anabolic steroids) ซัลฟาซาลาซีน (sulfasalazine) และเคมีบำบัด (chemotherapy) ภาวะมีบุตรยากอาจเกิดจากการรักษาด้วยสมุนไพร นอกจากนี้การใช้ยาหรือสารเสพติดเพื่อความสนุกสนานและความบันเทิงก็เป็นสาเหตุหนึ่งด้วยเช่นกัน

ภาวะเจริญพันธุ์มักจะกลับมาเมื่อผู้ป่วยหยุดใช้ยาที่เป็นสาเหตุของปัญหา หากคุณสงสัยว่ายารักษาโรคของคุณเป็นสาเหตุของภาวะมีบุตรยากหรือไม่ ควรปรึกษาแพทย์ของคุณเพื่อหาทางเลือกอื่น

ภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบ

อวัยวะเพศหญิงและระบบทางเดินปัสสาวะเป็นสิ่งที่ติดเชื้อได้ง่าย และการติดเชื้อสามารถก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ซึ่งรวมถึงภาวะมีบุตรยาก ท่อนำไข่ รังไข่ และมดลูกล้วนสามารถติดเชื้อได้และมีโอกาสที่จะเกิดความเสียหายถาวร ในบางกรณี ภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบก่อให้เกิดแผลเป็นรุนแรงที่ท่อนำไข่ ทำให้ไข่ไม่สามารถเดินทางผ่านได้

อาการมีดังต่อไปนี้: 

  • ปวดแสบขณะปัสสาวะ
  • ตกขาวสีเปลี่ยนไปหรือมีกลิ่น
  • ประจำเดือนมามากหรือปวดท้องประจำเดือนมาก
  • เลือดออกหลังมีเพศสัมพันธ์หรือเลือดออกระหว่างรอบเดือน
  • มีไข้
  • คลื่นไส้

การรักษาภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบมักเป็นการใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อ คนส่วนใหญ่ที่มีภาวะนี้สามารถฟื้นฟูภาวะเจริญพันธุ์ได้ แต่ในบางกรณีก็สูญเสียภาวะเจริญพันธุ์อย่างถาวร

แผลเป็นจากการผ่าตัด

บางครั้งการผ่าตัดก็ทิ้งรอยแผลเป็นไว้ที่ท่อนำไข่ ซึ่งมีความเป็นไปได้ที่จะกีดขวางทางเดินของไข่ ภาวะมีบุตรยากเพราะแผลเป็นจากการผ่าตัดมักจะเกิดขึ้นถาวร ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของความเสียหาย

ไม่สามารถอธิบายได้

ปัจจัยที่กำหนดว่าคนคนหนึ่งจะตั้งครรภ์ได้หรือไม่นั้นอาจซับซ้อน ทำให้ยากที่จะชี้ชัดถึงสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก ในบางกรณี ผลการตรวจทุกอย่างดูปกติ ทำให้แพทย์อับจนหนทางในการแก้ปัญหา ภาวะมีบุตรยากที่อธิบายไม่ได้เป็นสิ่งที่พบค่อนข้างบ่อย โดยพบประมาณ 1 ใน 4 เคสมีบุตรยากในสหราชอาณาจักร และเราพบรูปแบบที่คล้ายกันเกิดขึ้นทั่วโลก

เนื่องจากไม่รู้สาเหตุที่ชัดเจน เราจึงไม่ทราบวิธีในการรักษา อย่างไรก็ตาม การรักษาภาวะมีบุตรยากด้วย การทำเด็กหลอดแก้วหรือ การทำIVF ก็ช่วยได้ในบางกรณี

มูกไข่ตก

ปากมดลูกถูกเคลือบด้วยชั้นเมือกบาง ๆ ที่ช่วยให้อสุจิผ่านปากมดลูกไปหาไข่ได้ ในช่วงที่ผู้หญิงไม่มีไข่ตก เมือกจะข้นเหนียวและป้องกันไม่ให้อสุจิผ่าน การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนระหว่างไข่ตกจะทำให้เมือกใสขึ้นและทำให้อสุจิผ่านได้

อย่างไรก็ตาม เมือกไม่ได้ใสขึ้นเสมอไปทุกครั้ง หมายความว่าอสุจิจะไม่สามารถเดินทางผ่านได้ ปัญหาที่เป็นไปได้อาจเป็นเมือกที่มีภาวะเป็นกรด เซลล์ที่อักเสบที่สามารถฆ่าอสุจิ และแอนติบอดีที่สามารถโจมตีและฆ่าอสุจิ

มีหลายสาเหตุที่เป็นไปได้ที่ทำให้เกิดปัญหามูกไข่ตก ซึ่งหมายความว่ามีการรักษาหลายแบบที่สามารถทำได้ ในบางกรณี ผู้ป่วยถูกขอให้เปลี่ยนไลฟ์สไตล์และอาหารการกิน หรือแม้กระทั่งเปลี่ยนไปใช้สารหล่อลื่นที่เป็นมิตรต่ออสุจิ ในขณะเดียวกันก็มียาบางตัวที่สามารถช่วยปรับลักษณะของมูกได้

สรุป

ยังมีสาเหตุอื่น ๆ ที่เป็นไปได้ในการก่อให้เกิดภาวะมีบุตรยาก แต่สาเหตุที่กล่าวมาข้างต้นคือส่วนหนึ่งของสาเหตุที่พบได้บ่อย บางสาเหตุรักษาค่อนข้างง่าย ในขณะที่บางสาเหตุจำเป็นต้องเข้ารับการรักษาครั้งใหญ่หรือไม่สามารถรักษาได้เลย ข่าวดีคือการที่ไม่สามารถแก้สาเหตุของภาวะมีบุตรยากไม่ได้หมายความว่าการตั้งครรภ์เป็นไปไม่ได้เสมอไป เนื่องจากมีตัวเลือกต่างๆ เช่น IVF 

ทั้งนี้ทั้งนั้น สิ่งที่ดีที่สุดคือการปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเมื่อคุณสงสัยว่ามีสิ่งผิดปกติ ในหลายกรณีอาจเป็นแค่การเปลี่ยนอาหารการกิน อย่างไรก็ตาม บางครั้งภาวะอาจรุนแรงขึ้นและส่งผลเสียหายอื่น ๆ ไม่เพียงแค่ภาวะเจริญพันธุ์ ดังนั้นการตรวจสุขภาพเป็นประจำจึงเป็นความคิดที่ดี 

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE