HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?

21 ต.ค. 2021

การปฏิสนธินอกร่างกาย (IVF) เป็นกระบวนการที่ใช้ในการรักษาปัญหาภาวะมีบุตรยากและทำให้คู่รักสามารถตั้งครรภ์ได้ เป็นรูปแบบการช่วยเหลือการเจริญพันธุ์ที่มีประสิทธิภาพโดยมีอัตราความสำเร็จสูง

ปัญหาภาวะมีบุตรยากสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งในเพศชายและเพศหญิง ตั้งแต่ท่อนำไข่อุดตันไปจนถึงจำนวนอสุจิน้อย คุณสามารถเอาชนะปัญหาเหล่านี้ได้ด้วยการเลือกทำเด็กหลอดแก้ว อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการทำเด็กหลอดแก้วนั้นเป็นการรักษาที่มีค่าใช้จ่ายสูงกว่า จึงอาจไม่ใช่ทางเลือกแรกสำหรับทุกคน แต่มักจะได้รับการแนะนะในกรณีที่การรักษาภาวะมีบุตรยากวิธีอื่น ๆ ล้มเหลว 

การทำเด็กหลอดแก้วทำงานอย่างไร

กระบวนการทำเด็กหลอดแก้วเริ่มต้นด้วยการกระตุ้นให้รังไข่ผลิตไข่ในปริมาณที่สูงขึ้น โดยปกติแล้วไข่จะถูกผลิตหนึ่งฟองต่อหนึ่งรอบตามธรรมชาติ ดังนั้นการฉีดฮอร์โมนให้ผู้เข้ารับการรักษาฝ่ายหญิงจะช่วยกระตุ้นให้รังไข่ผลิตไข่ได้หลายฟอง จากนั้นจึงใช้ยาอีกตัวหนึ่งเพื่อทำให้ไข่โตเต็มที่โดยไม่ปล่อยออกจากฟอลลิเคิล การเก็บไข่จะดำเนินการในภายหลังกระบวนการตกไข่ โดยอัลตราซาวนด์เพื่อนำทางเข็มไปยังฟอลลิเคิล เพื่อที่จะดึงไข่ออกมา กระบวนการดังกล่าวจะได้รับการดูแลโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในขณะที่ผู้เข้ารับการรักษาถูกวางยาสลบ

ในเวลาเดียวกันฝ่ายชายจะถูกขอให้เก็บตัวอย่างอสุจิ ในห้องปฏิบัติการเมื่อตรวจพบไข่และสเปิร์มที่แข็งแรงแล้ว พวกมันจะถูกผสมเพื่อให้เกิดการปฏิสนธิ ไข่ที่ปฏิสนธิสำเร็จจะกลายเป็นตัวอ่อนและถูกเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ จากนั้นจึงทำการทดสอบทางพันธุกรรมเพื่อหาความผิดปกติของโครโมโซม

ในกระบวนการย้ายตัวอ่อนอาจมีการย้ายตัวอ่อนหนึ่งตัวหรือมากกว่าหนึ่งเข้าสู่มดลูกของผู้เข้ารับการักษาฝ่ายหญิง โดยคาดหวังว่าอย่างน้อยหนึ่งตัวจะทำการฝังได้สำเร็จ การตัดสินใจว่าจะย้ายตัวอ่อนกี่ตัวเข้าสู่มดลูกจะต้องได้รับการปรึกษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ หากมีการย้ายมากกว่าหนึ่งตัว อาจมีความเป็นไปได้ของการตั้งครรภ์ฝาแฝดหรือแฝดสาม ท้ายที่สุดแล้ว การทำเด็กหลอดแก้วที่ประสบความสำเร็จคือการที่ผู้เข้ารับการรักษาฝ่ายหญิงตั้งครรภ์ในที่สุด

ด้วยความคาดหวังว่าจะมีลูก คู่รักหลายคู่ยินดีที่จะก้าวผ่านความเครียดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว ประเด็นสำคัญต่อไปนี้ คือสิ่งที่คุณควรพิจารณาเพื่อตัดสินใจว่านี่เป็นเส้นทางในการเป็นพ่อแม่ที่เหมาะสมสำหรับคุณหรือไม่

1. สุขภาพของคุณมีความสำคัญ

ยิ่งคุณมีสุขภาพที่ดีเท่าไหร่ โอกาสที่จะประสบความสำเร็จในการทำเด็กหลอดแก้วก็จะยิ่งมากขึ้นเท่านั้น เมื่อพิจารณาจากความเครียดและค่าใช้จ่ายจากการรักษา การมีสุขภาพที่ดีนั้นช่วยได้มาก เพื่อให้บรรลุถึงผลลัพธ์ที่คาดหวัง คุณจะต้องพยายามอย่างมากในการหยุดนิสัยที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ ซึ่งอาจหมายถึงการเปลี่ยนไลฟ์สไตล์อย่างจริงจัง เช่น การรักษาน้ำหนักให้เหมาะสม งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และบุหรี่ หากคุณมีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่น โรคโครห์น เบาหวาน หรือความดันโลหิตสูง คุณจะต้องปรึกษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญของคุณ เกี่ยวกับขั้นตอนที่คุณต้องดำเนินการเพื่อรักษาและควบคุมอาการ

2. การรักษาต้องใช้เวลา

นับตั้งแต่วินาทีแรกที่คุณก้าวเข้าสู่การพบแพทย์เพื่อขอคำปรึกษา เข้ารับการทดสอบที่จำเป็น และเริ่มการรักษาด้วยฮอร์โมน อาจใช้เวลาหลายสัปดาห์ก่อนที่กระบวนการแรกจะเสร็จสิ้น การทำเด็กหลอดแก้วเป็นกระบวนการที่มีหลายขั้นตอนซึ่งล้วนส่งผลต่อโอกาสในการตั้งครรภ์ที่ประสบความสำเร็จ คุณจะต้องกลับเข้ามาพบแพทย์และห้องปฏิบัติการหลายครั้ง ดังนั้น ความอดทนจึงเป็นกุญแจสำคัญ เพราะคุณอาจไม่ประสบความสำเร็จตั้งแต่ในครั้งแรก หลายคู่ต้องเข้ารับการรักษาหลายรอบก่อนจะตั้งครรภ์ได้สำเร็จ

3. อัตราความสำเร็จอาจใช้ไม่ได้สำหรับคุณ

เป็นเรื่องปกติที่ผู้เข้ารับการรักษาจะเลือกคลินิกรักษาภาวะมีบุตรยากโดยพิจารณาจากอัตราความสำเร็จในการทำเด็กหลอดแก้ว แต่อัตราความสำเร็จเหล่านี้อาจใช้ไม่ได้กับกรณีของคุณเสมอไป แต่ละคู่ที่ประสบกับภาวะมีบุตรยากจะมีปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาแตกต่างกัน ปัจจัยต่าง ๆ เช่น อายุ น้ำหนัก และประวัติการเจริญพันธ์ สามารถมีบทบาทสำคัญในการมีอิทธิพลต่อความสำเร็จในการทำเด็กหลอดแก้ว คุณไม่ควรเหมารวมว่าสถานการณ์ของคุณเหมือนกับสถานการณ์ของคนอื่นที่ทำเด็กหลอดแก้วได้สำเร็จ ปรึกษาแพทย์ของคุณเพื่อดูว่าการทำเด็กหลอดแก้วเป็นตัวเลือกการรักษาที่ดีที่สุดสำหรับคุณหรือไม่ และอัตราความสำเร็จที่คุณสามารถคาดหวังได้จริงนั้นเป็นอย่างไร

4. อย่าถูกชี้นำด้วยราคา

ว่ากันว่า ถูกคือแพง การได้ราคาที่ดีในการทำเด็กหลอดแก้วอาจไม่ใช่เรื่องเลวร้ายอะไร แต่คุณภาพของการดูแลที่คุณได้รับควรเป็นข้อพิจารณาที่สำคัญที่สุด คลินิกที่คุณเลือกควรมีผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะเจริญพันธุ์ที่ได้รับการฝึกอบรมและมีประสบการณ์ในทุกขั้นตอนทางการแพทย์ที่จำเป็น เช่น การกระตุ้นรังไข่ การดึงไข่ และการย้ายตัวอ่อน พวกเขาควรมีห้องปฏิบัติการที่มีอุปกรณ์ครบครันที่สามารถทำการทดสอบและดำเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่จำเป็นได้

พิจารณาดูว่ามีค่าใช้จ่ายและแผนการชำระเงินอย่างไรบ้าง รวมถึงประกันของคุณครอบคลุมได้มากน้อยเพียงใด อาจเป็นไปได้ที่คุณจะพิจารณาเดินทางไปต่างประเทศเพื่อเข้ารับการรักษานี้ เนื่องจากคุณอาจพบว่ามีบางประเทศที่มีมาตรฐานการรักษาพยาบาลสูงในราคาที่ย่อมเยา

5. คุณอาจมีอาการไม่พึงประสง

บางส่วนในกระบวนการรักษานี้สามารถนำไปสู่ความรู้สึกไม่สบายทางกายภาพและบางครั้งเกิดความเจ็บปวด ซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้เข้ารับการรักษาฝ่ายหญิงเป็นส่วนใหญ่ แม้ว่าการฉีดฮอร์โมนจะเป็นอะไรที่ทนได้ แต่ก็อาจมีผลข้างเคียง เช่น ตะคริวและการกดเจ็บของเต้านมที่อาจทำให้รู้สึกไม่สบายตัว ขั้นตอนต่อมา เช่น การดึงไข่และการย้ายตัวอ่อนอาจต้องใช้การวางยาสลบ อย่างไรก็ตาม แม้จะต้องประสบกับความท้าทายทั้งหมดนี้ สิ่งสำคัญคือต้องจำไว้เสมอว่ารางวัลสูงสุดนั่นก็คือทารกที่แข็งแรง

6. มีตัวอ่อนหลายตัวและที่ไม่ได้ใช้

เมื่อถึงกระบวนการย้ายตัวอ่อน แพทย์มักจะเลือกตัวอ่อนหนึ่งหรือสองตัวสำหรับขั้นตอนนี้ แม้ว่าตัวอ่อนเหล่านั้นจะโตเต็มที่แล้วก็ตาม การตั้งครรภ์หลายคนในครั้งเดียวอาจเป็นสิ่งที่พึงปรารถนา แต่ก็อาจเกิดความเสี่ยงต่อสุขภาพด้วยเช่นกัน ดังนั้น แพทย์ส่วนใหญ่ยึดถือข้อจำกัดนี้ คุณควรปรึกษากับแพทย์ของคุณเกี่ยวกับปัญหานี้ก่อน และให้คำนึงถึงว่าถ้าคุณย้ายตัวอ่อนสองตัว อาจมีความเป็นไปได้ที่จะมีฝาแฝด

นอกจากนี้ ให้พิจารณาว่าคุณจะทำยังไงกับตัวอ่อนที่ไม่ได้ใช้ของคุณ คลินิกหลายแห่งสามารถแช่แข็งเก็บตัวอ่อน ไข่และสเปิร์มไว้ได้ไม่จำกัด สิ่งนี้อาจเป็นประโยชน์ในระหว่างที่คุณรอผลการรักษา หากฝ่ายหญิงไม่ตั้งครรภ์ คุณสามารถเลือกย้ายตัวอ่อนที่เก็บไว้อีกรอบได้ หากคุณไม่ต้องการตัวอ่อนอีกต่อไป คุณอาจเลือกที่จะทิ้งหรือบริจาคเพื่อการวิจัยทางการแพทย์ หรือมอบให้กับคู่สมรสที่มีบุตรยากต่อไป 

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE