HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่

22 ก.พ. 2022

ในยุคโควิดที่ใครหลายคนจะต้องป้องกันด้วยวัคซีนโควิด ทำให้เกิดคำถามมากมาย โดยเฉพาะคำถามที่เกี่ยวกับสุขภาพ ในกลุ่มคนผู้มีบุตรยาก อาจจะมีคำถามเช่นกัน อย่างในคนที่มีแผนจะทำ “เด็กหลอดแก้ว” ก็ยังสงสัยอยู่ว่า ถ้าฉีดวัคซีนโควิด 19 ไปแล้ว จะมีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่ ครั้งนี้ทางบทความจึงถือโอกาสนำเอาข้อมูลรายละเอียดส่วนนี้มาไขข้อข้องใจกัน

เด็กหลอดแก้ว คืออะไร?

เด็กหลอดแก้ว คือ เทคโนโลยีทางการแพทย์ เพื่อให้คนที่มีบุตรยาก สามารถมีบุตรได้โดยการผสมเทียม ช่วยเพิ่มโอกาสให้การมีบุตรนั้นสูงขึ้น การทำเด็กหลอดแก้วบางครั้งถูกเรียกว่า IVF ซึ่งมาจากชื่อเต็มคือ In Vitro Fertilization 

หลักการของเด็กหลอดแก้วคือ นำไข่และอสุจิทำการปฏิสนธิภายนอกร่างกาย ภาชนะที่ใช้จะเป็นจานแก้ว หรือหลอดทดลองในห้องปฎิบัติการ จึงเป็นที่มาของคำว่าเด็กหลอดแก้ว จากนั้นเมื่อเกิดเป็นตัวอ่อนแล้ว จะถูกส่งกลับเข้าไปในมดลูกเพื่อตั้งครรภ์ต่อไปตามลำดับ 

การเตรียมตัวก่อนทำเด็กหลอดแก้ว

แน่นอนว่าก่อนการทำเด็กหลอดแก้ว คู่สมรสทั้งฝ่ายหญิงและฝ่ายชายจะต้องเตรียมร่างกายให้พร้อม เพื่อให้เซลล์ไข่และอสุจิมีความสมบูรณ์แข็งแรง เหมาะสำหรับการนำมาปฏิสนธิได้อย่างสมบูรณ์ ที่สำคัญด้านร่างกายฝ่ายหญิง ซึ่งต้องเตรียมพร้อมสำหรับตั้งครรภ์ด้วยเช่นกัน เพราะต้องมีการนำตัวอ่อนกลับเข้าไปฝังตัวที่มดลูกและเจริญเติบโตในครรภ์ต่อไป โดยการเตรียมตัวของฝ่ายหญิงและฝ่ายชายเป็นดังนี้

ฝ่ายหญิง

  • หลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียดและพักผ่อนให้เพียงพอ 
  • งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  • งดสูบบุหรี่ และหลีกเลี่ยงการรับควันบุหรี่
  • หลีกเลี่ยงอาหารแปรรูปและอาหารที่มีน้ำตาลสูง
  • รับประทานอาหารที่มีสารอาหารชนิดโปรตีนให้เพียงพอ
  • ดื่มน้ำให้เพียงพอ อย่างน้อย 1.5-2 ลิตร/วัน
  • ควบคุมน้ำหนัก แต่ต้องหลีกเลี่ยงการออกกำลังหนักๆ 

ฝ่ายชาย

  • งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  • งดสูบบุหรี่ อย่างน้อย 3 เดือนก่อนการรักษา และหลีกเลี่ยงการรับควันบุหรี่
  • หลีกเลี่ยงการสวมใส่กางเกงชั้นในที่แน่นเกินไป
  • หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มกาเฟอีน
  • งดเข้าซาวน่าและแช่น้ำอุ่น
  • หลีกเลี่ยงการติดเชื้อ
  • พักผ่อนให้เพียงพอ
  • หลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียด
  • ออกกำลังกายสม่ำเสมอ

ข้อควรปฏิบัติเบื้องต้นเกี่ยวกับการเตรียมตัวก่อนทำเด็กหลอดแก้วนั้น ไม่ได้ระบุในเรื่องของการหลีกเลี่ยงการฉีดวัคซีนใดๆ รวมถึงวัคซีนโควิด 19 ทั้งนี้ผู้ที่มีแผนจะเข้ารับการรักษาหรือทำเด็กหลอดแก้วนั้น หากได้รับวัคซีนอื่นๆ อาจต้องปรึกษาแพทย์เป็นกรณีพิเศษเพิ่มเติม

วัคซีนโควิด 19 ทำงานกับร่างกายอย่างไร?

ในเรื่องของวัคซีนโควิด 19 ซึ่งมีหลากหลายชนิดด้วยกัน อาทิ ชนิดเชื้อตาย ชนิดเวกเตอร์ ชนิด mRNA ฯลฯ กลไกการทำงานอาจแตกต่างกันออกไปในรายละเอียด แต่โดยรวมแล้ววัคซีนโควิด 19 จะทำการกระตุ้นภูมิคุ้มกันให้ทำงาน เพื่อปกป้องเชื้อไวรัสโควิด 19 อวัยวะที่ได้รับผลจากวัคซีนโควิด คือเม็ดเลือดขาว รวมถึงอวัยวะที่เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันอื่นๆ ส่วนอวัยวะสืบพันธุ์หรืออวัยวะที่เกี่ยวกับการตั้งครรภ์นั้นยังไม่พบข้อมูลว่าวัคซีนโควิด 19 จะส่งผลแต่อย่างใด แต่ทั้งนี้ก็เป็นเรื่องที่ผู้มีแผนที่จะทำเด็กหลอดแก้วต้องปรึกษาแพทย์เพิ่มเติมด้วยเช่นกัน

ฉีดวัคซีนโควิด 19 ระหว่างตั้งครรภ์ได้หรือไม่?

สำหรับผู้ที่อยู่ระหว่างตั้งครรภ์ ไม่ว่าจะเป็นการตั้งครรภ์ธรรมชาติ หรือตั้งครรภ์จากการทำเด็กหลอดแก้ว สามารถเข้ารับวัคซีน 19 ได้ ที่ผ่านมาก็มีผู้ที่อยู่ระหว่างตั้งครรภ์จำนวนหนึ่งเข้ารับวัคซีนโควิด 19 ทั้งยังถูกจัดให้เป็นกลุ่มเสี่ยงที่ควรได้รับวัคซีนโควิดโดยเร็วอีกด้วย 

ติดเชื้อโควิด 19 ระหว่างตั้งครรภ์ จะเป็นอย่างไร?

กรณีที่หญิงสาวอยู่ระหว่างตั้งครรภ์และมีการติดเชื้อโควิด 19 โอกาสที่เชื้อจะถูกส่งไปยังลูกในครรภ์มีอัตรา 2-5% อีกทั้งยังมีโอกาสคลอดก่อนกำหนด 15.1% และมีโอกาสครรภ์เป็นพิษ นอกจากนี้ผู้หญิงตั้งครรภ์ไม่สามารถรับยาฟาวิพิราเวียร์ที่ใช้สำหรับรักษาโควิด 19 ได้ เป็นเหตุผลให้หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับวัคซีนโควิด 19 เพื่อป้องกันการติดเชื้อ โดยสามารถตั้งครรภ์ได้ต่อไป 

ฉีดวัคซีนโควิด 19 ทำให้มีบุตรยากหรือไม่?

โอกาสการมีบุตรนั้น มีส่วนในการทำเด็กหลอดแก้ว เพราะไข่และอสุจิจะต้องแข็งแรงเพื่อการปฏิสนธิให้ได้ตัวอ่อน จากข้อมูลเบื้องต้น ยังไม่พบว่าวัคซีนโควิด 19 นั้นมีผลทำให้มีบุตรยากแต่อย่างใด อาจหมายความว่าวัคซีนโควิด 19 ไม่ได้มีผลต่อไข่และเชื้ออสุจิ ส่วนคนที่กำลังจะทำเด็กหลอดแก้ว ซึ่งต้องดูแลร่างกายให้เซลล์ไข่และเชื้ออสุจิสมบูรณ์แข็งแรง ก็สามารถรับวัคซีนโควิด 19 ได้

ฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการตั้งครรภ์หรือไม่?

แม้จะเป็นการทำเด็กหลอดแก้ว แต่ก็ต้องมีการตั้งครรภ์ ดังนั้นจึงมีคำถามอยู่ว่าถ้าฉีดวัคซีนโควิด 19 แล้ว จะมีผลต่อการตั้งครรภ์หรือไม่ เบื้องต้นแล้วยังไม่พบข้อมูลว่าวัคซีนทำให้เกิดปัญหาต่อการตั้งครรภ์ อาจหมายความว่าวัคซีนโควิด 19 ไม่ได้ส่งผลต่อมดลูก ซึ่งเป็นบริเวณที่ตัวอ่อนต้องฝังตัวและเจริญเติบโตในครรภ์มารดาต่อไป 

จากข้อมูลเบื้องต้นพบว่า วัคซีนโควิดไม่ส่งผลต่อการตั้งครรภ์ และไม่ส่งผลต่อการมีบุตร รวมถึงการเตรียมตัวก่อนทำเด็กหลอดแก้ว ก็ไม่ได้มีข้อบ่งชี้ว่าจะต้องหลีกเลี่ยงวัคซีน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นเพื่อความปลอดภัยที่สุด สำหรับคนที่มีแผนจะเข้ารับการรักษาภาวะการมีบุตรยาก ด้วยการทำเด็กหลอดแก้ว ก็ควรเข้าปรึกษาแพทย์เพิ่มเติม ซึ่งจากที่ผ่านมาจะพบว่าส่วนใหญ่แล้ว การได้รับวัคซีนป้องกันการติดเชื้อโควิดก่อนการตั้งครรภ์ย่อมเป็นเรื่องที่ดีกว่า 

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE