HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?

28 ต.ค. 2022

ด้วยความก้าวหน้าทางการสืบพันธุ์ในปัจจุบัน ผู้คนจึงเลือกมีลูกเมื่ออายุมาก ภาวะเจริญพันธุ์ในผู้ชายและผู้หญิงจะเสื่อมถอยลงเมื่อเราอายุมากขึ้น โดยเฉพาะสำหรับผู้หญิง ภาวะเจริญพันธุ์มักจะสูงสุดในวัยรุ่นตอนปลายไปจนถึงยี่สิบตอนปลาย ในขณะที่อัตราการเสื่อมถอยจะเด่นชัดขึ้นเมื่ออายุสามสิบกลาง ๆ

หลายคนที่เลือกจะเลื่อนเวลาการตั้งครรภ์ออกไปอาจเลือกการแช่แข็งไข่ไว้ตั้งแต่อายุไม่มาก เพราะการรอนานเกินไปไม่ได้หมายถึงแค่จำนวนไข่ที่น้อยลง แต่ยังหมายถึงไข่ที่คุณภาพด้อยลงด้วย

ผู้หญิงทุกคนเกิดมาพร้อมไข่จำนวนจำกัด จำนวนไข่จะลดลงตามแต่ละรอบประจำเดือน เมื่อจำนวนโดยรวมของไข่ลดลง คุณภาพของไข่ก็จะลดลงตามไปด้วย อนึ่ง พึงตระหนักว่าคุณภาพที่ลดลงของไข่มักส่งผลคือแนวโน้มที่สูงขึ้นของความผิดปกติทางพันธุกรรมของตัวอ่อน ผู้หญิงที่อายุมากขึ้นมักมีไข่ที่ถ้าไม่มีโครโมโซมมากเกินไปก็มีโครโมโซมน้อยเกินไป ซึ่งสามารถนำไปสู่ความผิดปกติทางพันธุกรรม เช่น ดาวน์ซินโดรม

ดังนั้น สำหรับผู้หญิงที่ได้ปรึกษาแพทย์แล้วหรือตระหนักถึงความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นที่มาพร้อมกับการตั้งครรภ์ช้าแต่ยังต้องการมีลูกของตนเองที่มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง การแช่แข็งไข่จึงเป็นเรื่องที่ต้องพิจารณาอย่างจริงจัง

อะไรคือการแช่แข็งไข่?

การแช่แข็งไข่หมายถึงการเก็บรักษาภาวะเจริญพันธุ์ที่ผู้หญิงสามารถทำได้เพื่อเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์ลูกที่สุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงของตนเองเมื่ออายุมากขึ้น โดยปกติแล้วการแช่แข็งไข่จะเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ IVF แต่ก็สามารถแช่แข็งไข่เพียงอย่างเดียวได้เช่นกันเพื่อรอการรักษาด้านการเจริญพันธุ์อื่น ๆ ภายหลัง

ระหว่างกระบวนการ IVF ผู้หญิงจะได้รับยาช่วยการเจริญพันธุ์ที่จะกระตุ้นการผลิตไข่จำนวนมากจากรังไข่ เมื่อไข่เจริญเติบโตแล้วก็พร้อมที่จะถูกเก็บผ่านกระบวนการ เช่น การตรวจอัลตร้าซาวด์ทางช่องคลอด ไข่ที่เก็บได้จะถูกนำไปไว้ในน้ำยาเพาะเลี้ยงหรืออาหารเลี้ยงเชื้อ และฟักตัว

หากยังไม่ปฏิสนธิไข่ในขณะนั้น ไข่สามารถถูกเก็บรักษาโดยการแช่แข็งเพื่อใช้ในอนาคตได้ โดยไข่เหล่านี้จะถูกแช่แข็งที่อุณหภูมิ -196° เพื่อให้มั่นใจว่าเซลล์จะไม่เสื่อมสภาพ ในปัจจุบัน ผู้หญิงบางส่วนแช่แข็งไข่ของตนไว้ตั้งแต่ช่วงวัย 20s ดังนั้นเหตุใดสิ่งนี้จึงเป็นกระแส?

ทำไมผู้หญิงจึงแช่แข็งไข่ของตน?

หนึ่งในเหตุผลหลักที่ผู้หญิงเลือกแช่แข็งไข่ของตนคือการรู้ว่ายิ่งอายุมากขึ้น คุณภาพและจำนวนของไข่จะยิ่งลดลง เมื่อรู้ว่าตนจะต้องการมีลูก ณ เวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต พวกเขาจึงเลือกแช่แข็งไข่เมื่ออายุยังน้อยเพื่อเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์ลูกที่สุขภาพดีในอนาคต

แพทย์ผู้รักษาด้วยวิธี IVF สามารถช่วยให้ผู้หญิงหลายคนตั้งครรภ์ได้สำเร็จหลังจากเก็บไข่ไว้นานถึง 14 ปี นั่นหมายความว่าตราบใดที่เก็บรักษาอย่างถูกต้อง ก็ไม่มีขีดจำกัดเวลาที่แน่นอนสำหรับการใช้ไข่

ความล่าช้ามักเกิดจากความต้องการที่จะบรรลุเป้าหมายในอาชีพและสร้างฐานะ คนบางส่วนจะตัดสินใจเรื่องนี้เมื่อยังโสดและรอคอยที่จะเจอคนที่ใช่สำหรับตน ในขณะที่บางส่วนจะตัดสินใจกับคู่รักคนปัจจุบันของตนที่มีมุมมองเหมือนกันว่าควรรอจนกว่าพวกเขาจะมีความมั่นคงทางการเงินและวุฒิภาวะมากขึ้นก่อนที่จะมีลูก เมื่อเป็นการตัดสินใจของคู่รัก ผู้ชายก็อาจเลือกแช่แข็งอสุจิของตนด้วยเช่นกัน

ในกรณีอื่น ๆ การแช่แข็งไข่อาจเป็นการป้องกันเมื่อต้องเข้ารับการรักษาทางการแพทย์ที่อาจกระทบกับภาวะเจริญพันธุ์ คนไข้หญิงอายุน้อยจำนวนมากที่เข้ารับการรักษาด้วยเคมีบำบัดสำหรับโรคมะเร็งมักจะแช่แข็งไข่ของตน การรักษาเช่นเคมีบำบัดสามารถส่งผลกระทบต่อรังไข่และฮอร์โมนซึ่งทำให้ตั้งครรภ์ได้ยากเป็นเวลาหลายปี แม้การตั้งครรภ์หลังรักษาโรคมะเร็งจะปลอดภัยสำหรับแม่และเด็ก แต่การรบกวนกระบวนการผลิตไข่และฮอร์โมนก็อาจทำให้ตั้งครรภ์ยากขึ้น ดังนั้นการแช่แข็งไข่จึงเป็นการป้องกันที่สามารถทำได้จริง

นอกจากนี้การแช่แข็งไข่ยังเป็นตัวเลือกแนะนำสำหรับผู้หญิงที่มีโรคประจำตัวที่อาจทำให้มีภาวะมีบุตรยากก่อนวัยอันควร ซึ่งภาวะทางสุขภาพ เช่น ปัญหาไทรอยด์ เนื้องอกต่อมใต้สมอง และถุงน้ำรังไข่หลายใบ (PCOS) สามารถก่อให้เกิดภาวะมีบุตรยากในผู้หญิงได้

ไข่แช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานแค่ไหน?

ตามทฤษฎีแล้ว ตราบใดที่ไข่ถูกแช่แข็งไว้ที่อุณหภูมิ -196° เซลล์จะไม่เสื่อมสภาพ นั่นหมายความว่าไข่สามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้โดยไม่จำกัดเวลา อย่างไรก็ตาม ขึ้นอยู่กับกฎหมายของพื้นที่ ก็จะมีเวลาจำกัดที่กำหนดไว้สำหรับการเก็บรักษา

ในสหราชอาณาจักร หน่วยงาน Human Fertilisation and Embryology Authority (HFEA) ได้อนุญาตให้เก็บไข่และอสุจิโดยแช่แข็งไว้ได้นานถึง 55 ปีนับจากวันแรกของการเก็บ นี่คือกฎหมายที่ผ่านการปรับปรุงใหม่แต่ถึงกระนั้นเจ้าของไข่และอสุจิก็จำเป็นต้องแสดงความยินยอมทุก 10 ปีให้การเก็บรักษาดำเนินต่อไป คลินิกจำเป็นต้องติดต่อคนไข้และให้พวกเขากรอกแบบฟอร์มยินยอมทุกสิบปี หากไม่มีการยินยอมหรือติดต่อคนไข้ไม่ได้ ไข่จะต้องถูกนำออกจากที่เก็บและกำจัด หากมีค่าธรรมเนียมการจัดเก็บมาเกี่ยวข้อง การไม่ชำระเงินอาจเป็นเหตุผลให้ทำลายไข่ได้เช่นกัน

ดังนั้นจึงขึ้นอยู่กับพื้นที่ที่คุณอยู่ คุณต้องปรึกษาคลินิกรักษาภาวะมีบุตรยากที่คุณเข้ารับการรักษาหากคุณกำลังพิจารณาวิธีนี้ในการเก็บรักษาภาวะเจริญพันธุ์ของคุณ ศึกษากฎหมายท้องถิ่นและนโยบายของคลินิกหรือศูนย์ที่จะทำการแช่แข็งไข่ของคุณ ติดตามการเปลี่ยนแปลงนโยบายและอัปเดตข้อมูลติดต่อเป็นประจำเพื่อให้มั่นใจว่าคุณจะสามารถติดตามสิ่งที่เกิดขึ้นกับไข่ของคุณได้ง่ายขึ้นแม้เวลาจะผ่านไปหลายปี

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE