HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน

16 พ.ค. 2023

โรคภูมิแพ้เป็นสิ่งที่พบได้ทั่วไปในคนจำนวนมากทั่วโลก สำหรับคนส่วนใหญ่ อาการแพ้คือความระคายเคืองและมักจะทำให้รู้สึกไม่สบายตัว แต่สำหรับคนอีกส่วนหนึ่ง อาการแพ้อาจอันตรายกว่ามาก

คุณแม่ตั้งครรภ์ที่มีอาการแพ้อาจมีความกังวลว่าโรคภูมิแพ้ของตนเองจะส่งผลกระทบต่อลูกในครรภ์ แต่ข่าวดีคือโรคภูมิแพ้ของแม่มักจะไม่เป็นอันตรายต่อลูก อย่างไรก็ตาม การที่คุณแม่ตั้งครรภ์หลีกเลี่ยงและจัดการสารก่อภูมิแพ้เพื่อสุขภาวะที่ดีและความสะดวกสบายของตนก็ย่อมเป็นความคิดที่ดี 

ตรวจสอบให้มั่นใจว่าคุณแพ้อะไรบ้าง

คนส่วนมากจะทราบดีอยู่แล้วว่าตนแพ้อะไร แต่บางส่วนอาจไม่แน่ใจนัก นอกจากนี้ยังมีหลายคนที่มีอาการแพ้เป็นครั้งแรกเมื่อตั้งครรภ์ ซึ่งหมายความว่าผู้ป่วยมักไม่ทราบสาเหตุของอาการแพ้

ในกรณีเหล่านี้ การตรวจโรคภูมิแพ้เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญระบุว่าคุณแพ้อะไรก็เป็นความคิดที่ดี การตรวจนั้นทำได้ง่ายและทราบผลลัพธ์ได้รวดเร็ว ทำให้คุณสามารถเข้ารับการรักษาที่เหมาะสมหากจำเป็น

ในบางกรณี อาการของคุณอาจไม่ใช่โรคภูมิแพ้ ดังนั้นจึงเป็นการดีที่สุดหากได้รับการรักษา ยกตัวอย่าง ผู้หญิงหลายคนมีอาการคัดจมูกระหว่างตั้งครรภ์ ซึ่งอาจทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นโรคภูมิแพ้ได้

หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ 

เมื่อคุณทราบดีแล้วว่าตนเองแพ้อะไร คุณก็สามารถพยายามหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ดังกล่าวได้ แม้ว่าการทำเช่นนี้จะยากกว่าที่คิดก็ตาม

ยกตัวอย่าง ละอองเรณูคือสาเหตุของอาการแพ้ที่พบบ่อยที่สุดและแพร่กระจายได้ในอากาศ ทำให้ยากต่อการหลีกเลี่ยง เพราะฉะนั้น คุณควรหลีกเลี่ยงการออกไปข้างนอกตอนกลางวันหากคุณแพ้ละอองเรณู รวมถึงพยายามปิดประตูและหน้าต่าง ส่วนอาการแพ้อื่น ๆ อาจรวมถึงสัตว์ ดังนั้นคุณอาจต้องหลีกเลี่ยงสัตว์เลี้ยงบางชนิดหากเป็นไปได้

อย่างไรก็ตาม แม้ว่าคุณจะพยายามหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ต่าง ๆ มากเพียงใด ณ จุดหนึ่งคุณก็ต้องสัมผัสกับสารใดสารหนึ่งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สิ่งนี้นำไปสู่คำถามที่ว่าคุณควรรับประทานยาแก้แพ้ระหว่างที่ตั้งครรภ์หรือไม่ และโดยทั่วไปแล้ว คำตอบคือใช่ 

ยาแก้แพ้อะไรบ้างที่คุณแม่ตั้งครรภ์สามารถรับประทานได้?

หนึ่งในยาแก้แพ้ที่เป็นที่นิยมที่สุดคือยาต้านฮิสตามีน (Antihistamines) ยานี้จะช่วยป้องกันไม่ให้ร่างกายสร้างสารฮิสตามีน ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย สารฮิสตามีนช่วยให้ร่างกายมีปฏิกิริยากับเซลล์ผู้บุกรุก (Intruder) เช่น ไวรัส หรือแบคทีเรียจากร่างกาย แต่บางครั้งก็มีปฏิกิริยากับสิ่งที่ไม่มีอันตรายอย่างละอองเรณูด้วยเช่นกัน

เนื่องจากยาต้านฮิสตามีนช่วยลดปริมาณฮิสตามีนที่ร่างกายผลิต จึงช่วยป้องกันไม่ให้เกิดอาการแพ้ที่มักทำให้รู้สึกไม่สบายตัว

ข่าวดีคือยาต้านฮิสตามีนส่วนใหญ่สามารถใช้ได้ระหว่างตั้งครรภ์ ทำให้คุณสามารถบรรเทาอาการแพ้ได้ หากไม่มั่นใจ คุณควรปรึกษาแพทย์ก่อนเพื่อความปลอดภัย โดยเฉพาะในกรณีของผู้หญิงที่รับประทานยาอื่นร่วมด้วยหรือมีโรคประจำตัวอื่น ๆ แพทย์มักจะพิจารณาว่าปลอดภัยในกรณีส่วนใหญ่ และอาจแนะนำการรักษาในแบบอื่นด้วย

การรักษาในแบบอื่นได้แก่:

ตรวจดูจำนวนละอองเรณู

ดังที่ได้กล่าวไปว่าการหลีกเลี่ยงละอองเรณูอาจเป็นเรื่องยากและในชีวิตจริงคุณไม่สามารถอยู่ในบ้านได้ตลอดเวลา อย่างไรก็ตาม คุณสามารถตรวจดูการนับจำนวนละอองเรณูในพื้นที่ของคุณผ่านช่องทางออนไลน์ได้ การหลีกเลี่ยงการออกจากบ้านในช่วงที่มีจำนวนละอองเรณูมากจะช่วยป้องกันไม่ให้คุณมีอาการแพ้

สวมหน้ากากอนามัย

การสวมหน้ากากอนามัยจะช่วยป้องกันไม่ให้คุณสูดดมสารก่อภูมิแพ้บางชนิด และป้องกันไม่ให้เกิดอาการแพ้ ทางที่ดีที่สุดคือหาหน้ากากอนามัยที่ผลิตมาเพื่อป้องกันอาการแพ้โดยเฉพาะเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด

ทำสเปรย์พ่นจมูก

การทำสเปรย์น้ำเกลือล้างจมูกสามารถช่วยบรรเทาอาการแพ้ในหลายกรณี สเปรย์นี้ทำได้ง่ายโดยใช้น้ำอุ่นผสมกับเกลือ จากนั้นเทใส่ขวดสเปรย์หรือบรรจุภัณฑ์ที่คล้ายกัน น้ำเกลือสามารถบรรเทาอาการแพ้ และในขณะเดียวกันก็ช่วยบรรเทาภาวะที่ไม่เกี่ยวกับโรคภูมิแพ้ได้ด้วย

อาบน้ำเป็นประจำ

การอาบน้ำและเปลี่ยนเสื้อผ้าเป็นประจำเป็นอีกหนึ่งวิธีที่มีประสิทธิภาพในการลดการสัมผัสสารก่อภูมิแพ้ โดยเฉพาะในกรณีที่เพิ่งกลับมาจากข้างนอก อย่าลืมว่าละอองเรณูและสารก่อภูมิแพ้อื่น ๆ สามารถติดอยู่บนเสื้อผ้าของคุณและก่อให้เกิดอาการแพ้ทีหลังได้

สรุป

หากคุณกำลังวางแผนที่จะตั้งครรภ์และมีความกังวลเกี่ยวกับโรคภูมิแพ้ ข่าวดีคือสำหรับคนส่วนใหญ่แล้วไม่มีอะไรต้องกังวล ลูกของคุณมักไม่ได้รับอันตรายใด ๆ แม้จะมีโอกาสได้รับโรคภูมิแพ้จากคุณก็ตาม

คุณสามารถทำตามขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้ตนเองสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ รวมถึงสามารถรับประทานยาเพื่อบรรเทาอาการแพ้ได้ด้วย แต่อย่าลืมถามผู้เชี่ยวชาญก่อนว่ายานั้นปลอดภัยสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์หรือไม่ โดยเฉพาะในกรณีที่คุณมีโรคประจำตัว

โดยรวมแล้ว คุณแม่ตั้งครรภ์สามารถใช้ชีวิตได้อย่างสะดวกสบายและหลีกเลี่ยงอาการแพ้ได้โดยการป้องกันอย่างเหมาะสม

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE