HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย

08 ก.พ. 2024

เส้นทางสู่การเป็นพ่อแม่มักเต็มไปด้วยอุปสรรคเสมอโดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อต้องรับมือกับภาวะมีบุตรยากในชาย การเก็บอสุจิโดยตรงจากอัณฑะ (TESE) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ อาจให้ความหวังได้มากว่าเมื่อเทียบกับวิธีการช่วยการเจริญพันธุ์แบบเดิม ๆ ในบทความนี้ เราจะมาอธิบายเกี่ยวกับมุมมองเกี่ยวกับการทำ TESE โดยเน้นถึงประโยชน์และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ที่คุณต้องพิจารณา

TESE คืออะไร? 

การเก็บอสุจิโดยตรงจากอัณฑะ หรือ เทเซ่ (Testicular Sperm Extraction: TEST) คือเทคนิคการผ่าตัดเพื่อเก็บอสุจิออกจากเนื้อเยื่ออัณฑะโดยตรง กระบวนการเทเซ่ครอบคลุมภาวะไม่มีอสุจิ (Azoospermia) ทั้งแบบอุดตันและไม่อุดตัน ซึ่งตรงกันข้ามกับ Microscopic Testicular Sperm Extraction (microTESE) ที่ใช้แนวทางที่ครอบคลุมน้อยกว่า กระบวนการเทเซ่มีความสำคัญเมื่อไม่สามารถหลั่งอสุจิได้ตามธรรมชาติ ไม่ว่าจะเกิดจากการอุดตันหรือผลิตที่น้อยลง

การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในชาย

ในบางครั้งการวางแผนในการสร้างครอบครัวอาจถูกขัดขวางด้วยภาวะมีบุตรยากซึ่งเกิดขึ้นได้ทั้งชายและหญิง ในคู่รักที่มีปัญหาในการตั้งครรภ์มักจะหันไปรับการวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากเพื่อเป็นแนวทางในการมีลูก โดยเฉพาะการวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในชายต้องได้รับการประเมินที่ครอบคลุมซึ่งรวมถึงอัลตราซาวด์ถุงอัณฑะ การตรวจเลือด และการวิเคราะห์น้ำอสุจิ เครื่องมือวินิจฉัยเหล่านี้จะประเมินลักษณะต่าง ๆ ของตัวอสุจิ เช่น การเคลื่อนไหว (ลักษณะท่าทางในการเคลื่อนที่) สัณฐานวิทยา (ขนาดและรูปร่างของตัวอสุจิ) จำนวนอสุจิ และปริมาณน้ำอสุจิ ซึ่งเป็นข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการเข้ารับบำบัดภาวะเจริญพันธุ์ที่ปรับแต่งตามความต้องการได้

ขั้นตอนการผ่าตัดอื่น ๆ เช่น การผ่าตัดเพื่อเก็บอสุจิอาจเป็นการรักษาที่มีประสิทธิภาพสำหรับผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องการสืบพันธุ์เป็นพิเศษ อาทิ PESA TESA และ TESE ซึ่งเป็นขั้นตอนการผ่าตัดสกัดอสุจิสามขั้นตอนที่ได้รับการปรับแต่งให้เหมาะกับสถานการณ์ที่แตกต่างกัน รวมถึงภาวะไม่มีน้ำอสุจิในเพศชายแบบทั้งอุดตันและอุดตัน

ขั้นตอนของการทำเทเซ่ (TESE)

ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบทางเดินปัสสาวะซึ่งมีความเชี่ยวชาญในด้านสุขภาพการเจริญพันธุ์ของผู้ชายจะดำเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ โดยเริ่มจากการดึงตัวอย่างเนื้อเยื่อขนาดเล็กออกจากลูกอัณฑะ จากนั้นจึงนำตัวอย่างนี้ไปตรวจสอบอย่างละเอียดรอบคอบว่ามีอสุจิที่มีชีวิตอยู่หรือไม่ ซึ่งกระบวนการเทเซ่จะช่วยให้สามารถแก้ไขภาวะเจริญพันธุ์ในคุณผู้ชายได้

ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นเมื่อทำเทเซ่ (TESE) 

เมื่อคุณเข้ารับการรักษาด้วยกระบวนการเทเซ่มักมาพร้อมกับข้อควรพิจารณาบางประการที่คุณควรทราบซึ่งความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เช่น มีเลือดออก มีการติดเชื้อ และอาจรู้สึกไม่สบายหลังทำได้ แต่ก็ใช้เวลาไม่นานในการฟื้นตัว โดยคนไข้ก็จะกลับมาทำกิจกรรมได้ตามปกติในระยะเวลาอัน

การฟื้นฟูสภาพร่างกายและความหวังของผลลัพธ์

อสุจิที่รวบรวมได้หลังจากรักษาด้วยการทำเทเซ่ สามารถแช่แข็งเพื่อใช้ในอนาคตหรือนำไปใช้เพื่อการปฏิสนธิได้ทันที แม้ว่าการแช่แข็งอาจทำให้เกิดปัญหาบางประการแต่แพทย์ผู้เชี่ยวชาญมักเห็นพ้องต้องกันว่าผลลัพธ์จะคล้ายกับการใช้อสุจิสดในเทคนิคการสืบพันธุ์สมัยใหม่ เช่น การทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) หรือการรักษาด้วยกระบวนการอิ๊กซี่ (ICSI) หากคุณจำเป็นต้องเข้ารับการรักษาครั้งที่สอง เราจะแนะนำให้รอ 6 – 12 เดือนก่อน

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่

เทเซ่อาจเป็นวิธีแก้ปัญหาที่เป็นไปได้สำหรับคุณผู้ชายที่เผชิญกับภาวะมีน้ำอสุจิน้อย ขั้นตอนการผ่าตัดนี้จะช่วยเข้ามาเติมเต็มความหวังในการมีลูกได้ เราต้องขอบคุณความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ในการตัดสินใจทำหัตถการใดๆ คนไข้จะต้องชั่งน้ำหนักในทั้งข้อดีและข้อเสียให้ดีอย่างรอบคอบ ดังนั้นอย่าลังเลที่จะติดต่อคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราเพื่อขอคำแนะนำและข้อมูลที่เหมาะสมกับทางทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญของเราได้

คำถามที่พบบ่อยสำหรับการรักษาด้วยวิธีเทเซ่ (TESE) ในแง่ความเสี่ยงและประโยชน์

การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในชายมีการวินิจฉัยอย่างไร? 

การวินิจฉัยภาวะมีบุตรยากในชายจะต้องมีการตรวจที่ครอบคลุม คู่รักที่ประสบปัญหาในการตั้งครรภ์มักจะขอคำแนะนำผ่านการวินิจฉัยภาวะมีบุตรยาก กระบวนการนี้รวมถึงการอัลตราซาวด์ถุงอัณฑะ การตรวจเลือด และการวิเคราะห์น้ำอสุจิ มีการประเมินคุณลักษณะต่าง ๆ ของอสุจิ เช่น การเคลื่อนไหว สัณฐานวิทยา จำนวนอสุจิ และปริมาณน้ำอสุจิ ซึ่งเป็นข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการเข้ารับการบำบัดภาวะเจริญพันธุ์ที่ปรับแต่งตามความต้องการได้

การผ่าตัดมีอะไรบ้าง? 

การผ่าตัดที่มีบทบาทสำคัญในการรักษาคุณผู้ชายที่มีปัญหาเรื่องการเจริญพันธุ์ เช่น PESA TESA และ TESE ซึ่งเป็นขั้นตอนการผ่าตัดสกัดอสุจิสามขั้นตอนที่ได้รับการปรับแต่งให้เหมาะกับสถานการณ์ที่แตกต่างกัน รวมถึงภาวะไม่มีน้ำอสุจิในเพศชายแบบทั้งอุดตันและอุดตัน

กระบวนการเทเซ่ (TESE) มีขั้นตอนดำเนินการอย่างไร? 

ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบทางเดินปัสสาวะซึ่งมีความเชี่ยวชาญในด้านสุขภาพการเจริญพันธุ์ของผู้ชายจะดำเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ โดยเริ่มจากการดึงตัวอย่างเนื้อเยื่อขนาดเล็กออกจากลูกอัณฑะ จากนั้นจึงนำตัวอย่างนี้ไปตรวจสอบอย่างพิถีพิถันว่ามีอสุจิที่มีชีวิตอยู่หรือไม่ ซึ่งกระบวนการเทเซ่จะช่วยให้สามารถแก้ไขภาวะการเจริญพันธุ์ในเพศชายได้

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นหลังจากทำเทเซ่ (TESE)? 

อสุจิที่รวบรวมได้หลังจากรักษาด้วยการทำเทเซ่ สามารถแช่แข็งเพื่อใช้ในอนาคตหรือนำไปใช้เพื่อการปฏิสนธิได้ทันที แม้ว่าการแช่แข็งอาจทำให้เกิดปัญหาบางประการแต่ทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญมักเห็นตรงกันว่าผลลัพธ์จะคล้ายกับการใช้อสุจิสดในเทคนิคการสืบพันธุ์สมัยใหม่ เช่น การทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) หรือการรักษาด้วยกระบวนการอิ๊กซี่ (ICSI) หากคุณจำเป็นต้องเข้ารับการรักษาครั้งที่สอง เราจะแนะนำให้รอ 6 – 12 เดือนก่อน

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE