HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา

30 ส.ค. 2023

ภาวะเจริญพันธุ์ของเพศชายไม่ได้เกิดจากปัจจัยเดียว แต่ได้รวมถึงหลาย ๆ ปัจจัย    ภาวะความไม่สมดุลของฮอร์โมน ความแข็งแรงของอสุจิ และอิทธิพลทางพันธุกรรม อิทธิพลทั้งหมดล้วนส่งผลต่อภาวะเจริญพันธุ์  จากการเจาะลึกถึงความซับซ้อนเหล่านี้ เราได้วางรากฐานสำหรับการตัดสินใจอย่างรอบคอบและวางกลยุทธ์ไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

ขณะที่วิถีทางในการเปิดเผยถึงสาเหตุอาจจะซับซ้อน เส้นทางนำไปสู่วิธีแก้ปัญหานั้นก็มีความซับซ้อนไม่แพ้กัน   จากความก้าวหน้าในเทคนิคที่ช่วยในการเจริญพันธุ์ เช่น IUI และ ICSI ไปจนถึงการเพิ่มศักยภาพของสเต็มเซลล์  ในเชิงภาพรวมกำลังเปลี่ยนแปลงไป  การเดินทางไปสู่การเปลี่ยนแปลงนี้จำเป็นต้องมีความเข้าใจแบบองค์รวม ไม่เพียงแต่ด้านการแพทย์เท่านั้น แต่ยังรวมถึงมิติทางด้านอารมณ์และด้านจิตใจของภาวะมีบุตรยากในเพศชายด้วย

การเปิดเผยภาวะมีบุตรยากในเพศชาย: การวินิจฉัยปัจจัยพื้นฐาน

ความผิดปกติของฮอร์โมนสามารถส่งผลต่อภาวะความสมดุลทางด้านอารมณ์นี้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อทุกอย่างตั้งแต่การผลิตอสุจิไปจนถึงความใคร่  การมีปฏิสัมพันธ์อย่างกลมกลืนกันนี้สามารถถูกขัดขวางได้โดยปัจจัยต่างๆ เช่น ความไม่สมดุลของต่อมไทรอยด์ ความผิดปกติของต่อมใต้สมอง หรือแม้กระทั่งโรคอ้วน ซึ่งทำให้ภาวะมีบุตรยากในเพศชายเป็นความท้าทายในหลายแง่มุม

ความผิดปกติทางพันธุกรรม ความผิดปกติทางด้านโครงสร้าง หรือการอักเสบสามารถส่งผลต่อภาวะเจริญพันธุ์ของเพศชาย ซึ่งทำให้ความสามารถในการปฏิสนธิกับไข่ลดลง ความบกพร่องทางพันธุกรรมก็สามารถมีบทบาทได้เช่นเดียวกัน

อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม เช่น การได้สัมผัสกับสารพิษ รังสี หรือยาบางชนิด  สามารถส่งผลเสียต่อภาวะเจริญพันธุ์ได้เช่นกัน  ปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่น ความเครียดที่มากเกินไป การรับประทานอาหารที่ไม่มีประโยชน์ และนิสัยเนือยนิ่ง  เป็นแรงสนับสนุนกันเพื่อทำให้เกิดเรื่องราวเหล่านี้ต่อไป

การเปิดเผยถึงภาวะมีบุตรยากในเพศชายนั้นจำเป็นต้องมีการประเมินอย่างรอบด้าน ซึ่งการประเมินนั้นจะต้องคำนึงถึงระดับความซับซ้อนเหล่านี้ ด้วยการประเมินอย่างพิถีพิถันและเป็นการดูแลเฉพาะบุคคล เราจึงสามารถค้นพบการผสมผสานอย่างมีเอกลักษณ์ของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเอื้อต่อการเผชิญปัญหาของแต่ละคนได้

พื้นที่การทดสอบ: การประเมินที่สำคัญโดยการสำรวจสำหรับการเจริญพันธุ์ของเพศชาย

หัวใจของตัวเลือกการวินิจฉัยคือการวิเคราะห์น้ำเชื้อ เป็นการประเมินที่เป็นหลักสำคัญซึ่งได้เผยให้เห็นถึงสุขภาพและความแข็งแรงของตัวอสุจิ การประเมินอย่างรอบด้านนี้ไม่เพียงแต่กลั่นกรองจำนวนอสุจิเท่านั้น แต่ยังเจาะลึกถึงลักษณะต่างๆ เช่น การเคลื่อนไหวและสัณฐานวิทยา ทำให้เห็นถึงความสามารถของอสุจิในการเดินทางไปสู่เป้าหมายสูงสุด ซึ่งก็คือการปฏิสนธิ

แต่ภาพรวมในการทดสอบนั้นขยายออกไปไกลกว่าเลนส์ของกล้องจุลทรรศน์ ขั้นตอนการสร้างโปรไฟล์ของฮอร์โมนเพื่อเผยให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมนที่ละเอียดอ่อนซึ่งควบคุมการทำงานของระบบสืบพันธุ์   การตรวจเลือด เป็นการตรวจวัดระดับฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน ฮอร์โมนลูทิไนซิง (LH) และฮอร์โมนกระตุ้นการเจริญเติบโตของรังไข่ (FSH)  เป็นการช่วยค้นหาความไม่สมดุลที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งอาจเป็นการไปรบกวนความสอดคล้องกันของภาวะเจริญพันธุ์ที่ซับซ้อนได้

การตรวจคัดกรองทางพันธุกรรมกลายเป็นเครื่องมืออันทรงพลัง ทำให้คลี่คลายปริศนาทางพันธุกรรมที่อาจส่งผลต่อภาวะเจริญพันธุ์ของเพศชาย ผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์สามารถรวบรวมข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัจจัยทางพันธุกรรมที่อาจนำไปสู่ภาวะมีบุตรยากได้ ซึ่งช่วยให้บุคคลมีความรู้ที่จะทำการตัดสินใจอย่างรอบรู้เกี่ยวกับวิถีทางการเจริญพันธุ์ของตนได้ โดยการพิจารณาจากเครื่องหมายทางพันธุกรรมและความผิดปกติที่เฉพาะเจาะจง

FISH ย่อมาจาก Fluorescent in situ Hybridization เป็นส่วนสำคัญของ IVF ที่รู้จักกันในชื่อ การวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรมระยะก่อนการฝังตัวของตัวอ่อน (Pre-implantation Genetic Diagnosis หรือ PGD)  เทคนิคการวิเคราะห์ทางพันธุกรรมนี้ช่วยระบุตัวอ่อนที่มีจำนวนโครโมโซมที่ถูกต้องได้ ซึ่งช่วยในการคัดเลือกตัวอ่อนที่มีสุขภาพดี   FISH ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซมได้  โดย FISH จะตรวจสอบเซลล์บลาสโตซิสต์ที่มีอายุประมาณ 5-6 วัน โดยเน้นไปที่โครโมโซม 5 คู่ที่แตกต่างกัน

เรื่องพฤติกรรม: ผลกระทบของนิสัยและการเลือกที่มีต่อภาวะมีบุตรยากในเพศชาย

อุปนิสัยประจำวัน กิจวัตรประจำวัน และการตัดสินใจของเรา สามารถมีอิทธิพลอย่างมากต่อความสมดุลที่จำเป็นต่อสุขภาพการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม

ในแง่ของภาวะเจริญพันธุ์ของเพศชาย ความเครียดถือเป็นศัตรูที่น่ากลัว จังหวะชีวิตสมัยใหม่ ซึ่งมักจะเร่งรีบและมีความต้องการสูง สามารถบดบังความปกติสุขของการเจริญพันธุ์ได้  ระดับความเครียดที่สูงจะปลดปล่อยบรรดาสิ่งรบกวนการผลิตฮอร์โมน ซึ่งนำไปสู่การผลิตและคุณภาพของสเปิร์มที่ไม่ดี  การหาวิธีการผ่อนคลายด้วยการฝึกเจริญสติ ไม่ว่าจะเป็นการทำสมาธิ โยคะ หรือเพียงแค่การอยู่ในช่วงเวลาที่เงียบสงบ ก็สามารถทำหน้าที่เป็นเกราะป้องกันอันทรงพลังต่อการจู่โจมอันลึกลับนี้ได้

โภชนาการ ซึ่งเป็นรากฐานที่สำคัญของสุขภาพโดยรวม มีความสำคัญต่อภาวะเจริญพันธุ์ของผู้ชายเช่นเดียวกัน  อาหารที่อุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ วิตามิน และแร่ธาตุ ได้ให้เกราะป้องกันให้กับอสุจิ ปกป้องพวกมันจากความเครียดจากปฏิกิริยาออกซิเดชั่นและความเสียหายของ DNA   ผลเบอร์รี่ ผักใบเขียว ถั่ว และเมล็ดพืช สามารถช่วยในเรื่องนี้ได้เช่นกัน  พิจารณาการลองวิธีการทำอาหารที่ได้รับแรงบันดาลใจจากเมดิเตอร์เรเนียน ซึ่งอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ กรดไขมันโอเมก้า 3 และโปรตีนจากพืช  อาหารที่สมดุลไม่เพียงแต่สนับสนุนสุขภาพโดยรวมเท่านั้น แต่ยังช่วยกระตุ้นกลไกที่ซับซ้อนของการผลิตอสุจิด้วย

อ่านเพิ่มเติม: อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)

ลักษณะทางกายภาพก็มีส่วนในการแสดงบทบาทเช่นกัน การมีส่วนร่วมในการออกกำลังกายเป็นประจำไม่เพียงแต่ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของหัวใจและหลอดเลือดเท่านั้น แต่ยังอาจส่งผลต่อภาวะเจริญพันธุ์ด้วย การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางกายเป็นประจำไม่เพียงแต่ช่วยรักษาน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่ดี แต่ยังช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิต เพิ่มประสิทธิภาพการนำส่งสารอาหารที่สำคัญไปยังอวัยวะสืบพันธุ์ด้วย  มันเป็นเรื่องของความสมดุล  หากออกแรงมากเกินไปก็สามารถส่งผลเสียได้ ความพยายามในการมีกิจกรรมทางกายที่พอเหมาะเป็นวิธีที่ดีที่สุด

ความเครียดอาจเป็นภัยร้ายที่คาดไม่ถึง ความสมดุลของฮอร์โมนที่กลมกลืนกันสามารถถูกขัดขวางโดยความเครียดเรื้อรัง ซึ่งเป็นภัยต่อภาวะเจริญพันธุ์ การอยู่กับการฝึกเจริญสติ ไม่ว่าจะเป็นการทำสมาธิ โยคะ หรือการหายใจอย่างมีสติ จะช่วยปรับจังหวะของร่างกายให้สงบขึ้น  เป็นการส่งเสริมความสมดุลของฮอร์โมน และเป็นการสนับสนุนสุขภาพการเจริญพันธุ์

การสืบพันธุ์แบบมีตัวช่วย: ความก้าวหน้าในการเอาชนะภาวะมีบุตรยากในเพศชาย

การสืบพันธุ์แบบมีตัวช่วยได้ผ่านวิวัฒนาการอันน่าทึ่ง  ได้มอบความหวังใหม่ให้กับคู่รักที่ผ่านการท่องน่านน้ำอันท้าทายของการต่อสู้ดิ้นรนเพื่อการเจริญพันธุ์ ต่อไปนี้เป็นเทคนิคที่ล้ำสมัยบางส่วนภายใต้ประสบการณ์ของเราที่ได้ช่วยให้คู่รักหลายคู่เติมเต็มความฝันของเขาในการเริ่มต้นมีครอบครัว:

การผสมเทียมในมดลูก (IUI): การดันอย่างอ่อนโยน

ความอ่อนโยนที่พอดีกันกับความแม่นยำด้วยการผสมเทียมในมดลูก (IUI) ซึ่งเป็นเทคนิคอันชาญฉลาดที่เกี่ยวข้องกับการใส่อย่างมีกลยุทธ์ของตัวอสุจิที่ถูกเตรียมมาเป็นพิเศษเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง วิธีการนี้พิสูจน์ได้ว่ามีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อต้องรับมือกับความผิดปกติของอสุจิเล็กน้อยถึงปานกลาง โดยการช่วยผสมตามที่ได้คำนวณไว้แล้วให้ไปปฏิสนธิภายในท่อระบบสืบพันธุ์เพศหญิง

การปฏิสนธินอกร่างกาย (ICSI-อิ๊กซี่): การปฏิสนธิที่แม่นยำ

เริ่มดำเนินการโดยวิถีทางของกล้องจุลทรรศน์ การทำเด็กหลอดแก้ว

แบบอิ๊กซี่ (ICSI) ช่วยให้ผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิสนธิคัดเลือกเซลล์อสุจิที่มีชีวิตเพียงเซลล์เดียวเพื่อฉีดเข้าไปในไข่ที่รออยู่โดยตรง การจัดเตรียมอย่างละเอียดอ่อนนี้ช่วยขจัดอุปสรรคและความซับซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ ช่วยเพิ่มโอกาสในการปฏิสนธิได้สำเร็จ ซึ่งเป็นข้อพิสูจน์ถึงความเฉลียวฉลาดทางการแพทย์สมัยใหม่

การปฏิสนธิในหลอดแก้ว (IVF): การจัดเตรียมสิ่งมหัศจรรย์

จุดสุดยอดของการช่วยการเจริญพันธุ์ การทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) เป็นการนำความแม่นยำทางการแพทย์และนวัตกรรมทางเทคโนโลยีมารวมกัน มันเกี่ยวข้องกับการหลอมรวมของไข่และสเปิร์มภายนอกร่างกาย ตามด้วยการย้ายตัวอ่อนที่ได้ผลเข้าไปในมดลูก การปฏิสนธิในหลอดแก้วช่วยแก้ปัญหาในหลายแง่มุม โดยจัดการกับบรรดาปัจจัยต่างๆ ของภาวะมีบุตรยากในเพศชาย ตั้งแต่จำนวนอสุจิน้อยไปจนถึงการเคลื่อนไหวของอสุจิที่บกพร่อง เรื่องราวความสำเร็จที่น่าทึ่งของการปฏิสนธิในหลอดแก้วยังคงทำให้เห็นเส้นทางสู่ความเป็นพ่อแม่สำหรับคู่รักจำนวนนับไม่ถ้วน

การเก็บอสุจิจากอัณฑะโดยใช้วิธีการผ่าตัด (TESE): การสกัดความหวัง

สำหรับกรณีที่วิธีการดึงอสุจิแบบเดิมล้มเหลว การสกัดอสุจิจากลูกอัณฑะ (TESE) จะเข้ามาเป็นแสงสว่างแห่งความเป็นไปได้  การผ่าตัดเพื่อหาอสุจิโดยตรงจากอัณฑะ แม้แต่ผู้ชายที่มีปัญหาด้านการผลิตอสุจิอย่างรุนแรงก็สามารถมีส่วนร่วมในกระบวนการปฏิสนธิได้ เป็นการเสริมสร้างแรงบันดาลใจใหม่ในการเป็นพ่อคน

ในขณะที่วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังคงดำเนินไปอย่างไม่หลุดยั้ง ขอบเขตของการสืบพันธุ์แบบมีตัวช่วยได้ขยายขอบเขตไปไม่ที่สิ้นสุดและมีการกำหนดขีดจำกัดใหม่ ๆ

หากคุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาวะมีบุตรยากในเพศชายและทางเลือกในการรักษา โปรดติดต่อทีมงานที่ Bangkok Central Clinic IVF & Wellness  เราเป็นคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากที่ได้รับการยอมรับอย่างสูงในประเทศไทย ที่มีประวัติเป็นที่น่าภาคภูมิใจในการให้บริการกับลูกค้าของเรา

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE