HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ

09 พ.ค. 2024

การทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) เป็นประสบการณ์ที่ทั้งน่าตื่นเต้นและน่ากังวลใจ ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้คู่รักจำนวนมากที่ประสบภาวะมีบุตรยากมีโอกาสที่จะได้เป็นพ่อแม่สมความปรารถนา อย่างไรก็ตาม กระบวนการนี้มักจะมีอุปสรรคเกิดขึ้นอยู่เสมอ การทำเด็กหลอดแก้ว IVF ต้องใช้ความอดทนทั้งร่างกายและจิตใจ เพราะเป็นกระบวนการที่ส่งผลกระทบต่อผู้ป่วยเป็นอย่างมาก

ทีมผู้เชี่ยวชาญที่คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราในกรุงเทพฯ มีความมุ่งมั่นที่จะช่วยคุณก้าวผ่านอุปสรรคเหล่านี้ และทำให้กระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว IVF สำหรับคุณมีประสิทธิภาพและราบรื่นที่สุด ด้วยประสบการณ์อันยาวนาน เรามีความเข้าใจถึงอุปสรรคเหล่านี้เป็นอย่างดี บทความนี้มีคำตอบสำหรับคำถามและข้อกังวลที่พบบ่อยเกี่ยวกับการทำเด็กหลอดแก้ว IVF แต่หากคุณต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับบริการของเรา ก็สามารถติดต่อคลินิกของเราได้ทันทีเช่นกัน

ทำไมการทำเด็กหลอดแก้ว IVF ส่งผลต่อจิตใจเป็นอย่างมาก?

เราเข้าใจดีว่าการทำเด็กหลอดแก้ว IVF สามารถส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจได้ ทั้งความหวังที่มีต่อการเริ่มต้นกระบวนการใหม่แต่ละครั้ง การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน และคำถามคาใจที่ว่า “แล้วถ้า…?” ทุกอย่างล้วนส่งผลกระทบต่อจิตใจได้ ดังนั้น ที่คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราจึงให้ความสำคัญมากกว่าแง่มุมทางวิทยาศาสตร์ในการรักษาด้วยกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว IVF ทีมของเราไม่ได้มีเพียงแค่ผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะมีบุตรยากเท่านั้น แต่ยังรวมทีมช่วยเหลือที่มีความเข้าอกเข้าใจและคอยสนับสนุนคุณทางด้านจิตใจ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของบริการดูแลสุขภาพองค์รวมของเรา เราจัดพื้นที่ปลอดภัยให้คุณได้แบ่งปันความวิตกกังวลและความกลัว เพราะเราตระหนักดีว่าเส้นทางนี้ไม่เพียงแต่เป็นเรื่องของการรักษาทางการแพทย์ แต่ยังเป็นเรื่องของสุขภาพจิตใจด้วย

เมื่อท้ายที่สุดแล้วแพทย์ของคุณแนะนำกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว IVF ในจุดนี้คุณอาจเคยผ่านความเครียดและความวิตกกังวลมาหลายปีเนื่องจากภาวะมีบุตรยาก การทำ IVF อาจส่งผลให้ความรู้สึกเหล่านี้รุนแรงมากขึ้น กระบวนการทั้งหมดนี้อาจส่งผลต่อร่างกายและจิตใจของคุณเป็นอย่างมาก

อาการอ่อนเพลียตลอดกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว IVF มีสาเหตุหลักมาจากระดับฮอร์โมนโปรเจสเทอโรน (Progesterone) ที่เพิ่มสูงขึ้นในร่างกาย 

ซึ่งฮอร์โมนโปรเจสเทอโรนตามธรรมชาติจะมีระดับสูงขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์เพื่อช่วยสร้างและคงสภาพของเยื่อบุโพรงมดลูกให้เหมาะสมกับการฝังตัวของตัวอ่อน

ที่มา: Progesterone and Its Metabolites Play a Beneficial Role in Affect Regulation in the Female Brain, National Library of Medicine

ข้อควรพิจารณาทางการเงินเกี่ยวกับการทำ IVF มีอะไรบ้าง?

อุปสรรคอีกประการหนึ่งที่หลายคู่ประสบพบเจอคือภาระทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการรักษาด้วยวิธีการทำเด็กหลอดแก้ว IVF ซึ่งค่าใช้จ่ายอาจเพิ่มขึ้นได้อย่างรวดเร็ว และความไม่แน่นอนของผลลัพธ์อาจทำให้การตัดสินใจลงทุนดูน่าหวั่นใจ ปัจจัยหลักที่ต้องคำนึงถึงคือสถานพยาบาลที่คุณเลือกใช้ ประเภทของรอบ IVF ที่คุณเลือก และจำนวนรอบที่จำเป็นในการตั้งครรภ์ นอกจากนี้ การเลือกใช้บริการเสริมต่าง ๆ ก็มีแนวโน้มที่จะเพิ่มค่าใช้จ่ายด้วยเช่นกัน

ที่คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราในกรุงเทพฯ เราเชื่อว่าไม่มีใครควรพลาดโอกาสในการเป็นพ่อแม่เพียงเพราะค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูงในการรักษาภาวะมีบุตรยาก ดังนั้น เราจึงมีทางเลือกในการช่วยเหลือด้านการเงินที่หลากหลาย และการตั้งราคาที่โปร่งใส เราสามารถร่วมมือกันสร้างแพ็คเกจรักษาภาวะมีบุตรยากที่ปรับแต่งได้ตามความต้องการและงบประมาณของคุณ เพื่อให้คุณสามารถโฟกัสกับสิ่งที่สำคัญที่สุด นั่นก็คือการต้อนรับชีวิตใหม่เข้าสู่ครอบครัว

ปัจจัยทางการแพทย์ที่ส่งผลต่อความสำเร็จของ IVF มีอะไรบ้าง?

นอกเหนือจากอุปสรรคด้านจิตใจและการเงินแล้ว ยังมีข้อพิจารณาทางการแพทย์ที่ส่งผลต่อความสำเร็จของกระบวนการ IVF ร่างกายของแต่ละคนมีความแตกต่างกัน และปัจจัยต่าง ๆ เช่น อายุ ความไม่สมดุลของฮอร์โมน และโรคประจำตัวก็สามารถส่งผลต่อผลลัพธ์ ทั้งนี้ การตั้งครรภ์จนคลอดบุตรสำเร็จหลังผ่านกระบวนการ IVF ในผู้ที่มีภาวะมีบุตรยากมักได้รับผลกระทบจากหลายปัจจัย เช่น จำนวนตัวอ่อน จำนวนของไข่ที่ปฏิสนธิ สาเหตุของภาวะมีบุตรยาก อายุของฝ่ายหญิง และภาวะถุงน้ำในรังไข่หลายใบ (PCOS)

ที่มา: Factors Associated with In Vitro Fertilization Live Birth Outcome: A Comparison of Different Classification Methods, National Library of Medicine

เพื่อเพิ่มโอกาสในการประสบความสำเร็จ ทีมผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะมีบุตรยากของเราใช้แผนการรักษาที่ปรับแต่งให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลพร้อมด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุด เราใช้แนวทางการรักษาแบบองค์รวม โดยพิจารณาประวัติทางการแพทย์ของคุณอย่างละเอียด และทำการตรวจวินิจฉัยอย่างครอบคลุมเพื่อวางแผนการรักษาตามความต้องการเฉพาะของคุณ

กรุงเทพฯ เป็นจุดหมายปลายทางที่ดีสำหรับการทำเด็กหลอดแก้ว IVF หรือไม่?

กรุงเทพฯ ไม่ได้เป็นเพียงจุดหมายปลายทางยอดนิยมสำหรับวันหยุดพักผ่อนเท่านั้น แต่ยังได้รับการยกย่องให้เป็นจุดหมายปลายทางชั้นนำด้านการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ด้วย ซึ่งทำให้เป็นตัวเลือกที่ยอดเยี่ยมสำหรับผู้ป่วยที่ต้องการทำ IVF คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราตั้งอยู่ใจกลางเมืองกรุงเทพฯ พร้อมด้วยสิ่งอำนวยความสะดวก ทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สิ่งแวดล้อมที่อบอุ่น ทั้งนี้ ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยและห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมของ Bangkok Central Clinic จึงการันตีได้ว่าคุณจะได้รับการรักษาที่ถูกต้อง แม่นยำ และใส่ใจอย่างสูงสุด

การดูแลและช่วยเหลือตามความต้องการส่วนบุคคลตลอดกระบวนการ IVF

เราเข้าใจดีว่าเส้นทางสู่การเป็นพ่อแม่ของแต่ละครอบครัวย่อมแตกต่างกัน วิธีที่เป็นสูตรสำเร็จนั้นไม่มีอยู่จริง ด้วยเหตุนี้ เราจึงปรับแต่งแผนการรักษาของคุณโดยอิงตามความต้องการ ความชอบ และเป้าหมายเฉพาะตัวของคุณ เพราะฉะนั้น ตั้งแต่การปรึกษาหารือครั้งแรก ไปจนถึงขั้นตอนการทำ IVF การย้ายตัวอ่อน และกระบวนการใด ๆ หลังจากนั้น ทีมผู้เชี่ยวชาญของเราจะอยู่เคียงข้างคุณทุกขั้นตอนตลอดเส้นทาง เรามุ่งมั่นที่จะดูแลคุณอย่างครอบคลุมที่สุดเท่าที่จะทำได้ตลอดกระบวนการรักษาด้วยวิธีการทำเด็กหลอดแก้ว IVF รวมถึงทำให้คุณรู้สึกเข็มแข็ง ได้รับข้อมูลอย่างครบถ้วน และได้รับการช่วยเหลือเป็นอย่างดี

คุณสามารถทำอะไรได้บ้างเพื่อเพิ่มโอกาสสำเร็จของการทำ IVF?

ความสำเร็จของการทำเด็กหลอดแก้ว IVF ไม่ได้ขึ้นอยู่กับขั้นตอนทางการแพทย์เท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับการสร้างสภาพแวดล้อมที่อบอุ่นและการมีทัศนคติที่ดีด้วย ดังที่อดีตผู้ป่วยท่านหนึ่งเคยให้ความเห็นว่าคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราที่กรุงเทพฯ มอบบรรยากาศที่ใส่ใจ ซึ่งหมายความว่าคุณสามารถแบ่งปันเรื่องราวกับผู้คนที่เข้าใจสถานการณ์ของคุณ เราพร้อมสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้คุณได้แบ่งปันประสบการณ์ และมอบพลังให้แก่กันและกัน

โปรดจำไว้เสมอว่าคุณไม่ได้อยู่ตัวคนเดียวในขณะที่กำลังฝ่าฟันทั้งความลำบากและความสำเร็จในประสบการณ์การทำเด็กหลอดแก้ว IVF ที่ Bangkok Central Clinic เราเป็นทั้งเพื่อน ผู้ช่วยเหลือ และเป็นแหล่งรวมแรงสนับสนุนตลอดเส้นทางของคุณ เราจะร่วมกันฝ่าฟันอุปสรรค ฉลองความสำเร็จ และท้ายที่สุดคือช่วยให้คุณบรรลุเป้าหมายการเป็นพ่อแม่ซึ่งเป็นจุดหมายปลายทางที่คุณปรารถนา

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE