HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?

26 ธ.ค. 2022

ก่อนการตัดสินใจมีลูกคือหนึ่งในประสบการณ์ที่น่าตื่นเต้นที่สุดในชีวิตของทุกคน แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นสิ่งที่น่าหวั่นใจ ทั้งนี้ทั้งนั้น การมีลูกเป็นความรับผิดชอบอันยิ่งใหญ่และมาพร้อมกับภาระอันหนักอึ้ง

หากคุณและคู่รักของคุณตัดสินใจที่จะตั้งครรภ์ คุณควรเริ่มเตรียมตัวเองให้พร้อม หลายคนเริ่มคิดถึงเสื้อผ้าและของใช้ของเด็กก่อนได้รับการยืนยันว่าตั้งครรภ์เสียด้วยซ้ำไป

อย่างไรก็ตาม มีหลายคนที่พลาดประเด็นสำคัญก่อนที่จะตัดสินใจ ซึ่งคือการตรวจสุขภาพอันเป็นสิ่งสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิงด้วยหลายสาเหตุดังต่อไปนี้

การตรวจสุขภาพทั่วไป

การตรวจสุขภาพก่อนพยายามมีลูกเป็นความคิดที่ดีสำหรับคู่รักทั้งสองคน โดยเฉพาะผู้หญิงซึ่งต้องมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงเพราะการตั้งครรภ์เป็นสิ่งที่หนักหนาสำหรับร่างกายคุณ ดังนั้น คุณแม่ต้องแข็งแรงพอสำหรับตนเองและลูกในครรภ์ นอกจากนี้ การตรวจสุขภาพยังช่วยระบุปัญหาสุขภาพที่สามารถรักษาได้ก่อนตั้งครรภ์อีกด้วย

การตรวจสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้ชายก่อนจะมีลูกด้วยเช่นกัน หนึ่งในเหตุผลหลักคือสุขภาพของผู้ชายสามารถส่งผลต่อสุขภาพของอสุจิ อสุจิที่ไม่แข็งแรงจะมีโอกาสเติบโตน้อยลงและเพิ่มโอกาสในการเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ ในกรณีส่วนใหญ่ ปัญหาสุขภาพสามารถแก้ไขได้ ซึ่งปัญหาเหล่านี้มักจะแก้ได้ด้วยไลฟ์สไตล์ 

อีกหนึ่งเหตุผลที่ควรตรวจสุขภาพคือการทำหน้าที่พ่อแม่เป็นงานที่ยากทั้งทางกายและทางใจ คุณจำเป็นต้องมีความแข็งแกร่งเพื่อผ่านช่วงเวลาเหล่านี้ ยิ่งมีสุขภาพดีเท่าไหร่ คุณก็จะยิ่งมีความพร้อมที่จะทำหน้าที่ใหม่ ๆ ที่เข้ามา

การตรวจสุขภาพจะยิ่งสำคัญมากเมื่อคู่รักทั้งสองคนมีอายุมากขึ้น ทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิงจะพบว่าตนมีลูกยากขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น และมีโอกาสมากขึ้นที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อน

การตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (Sexually transmitted diseases)

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (STIs) เป็นสิ่งที่ไม่พึงประสงค์และอาจเป็นอันตรายได้ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สามารถทำลายสุขภาพของหญิงที่ตั้งครรภ์และมีโอกาสที่จะเป็นอันตรายต่อลูกในครรภ์ โชคร้ายที่หลายโรคสามารถถูกส่งต่อจากแม่สู่ลูกได้ในขณะที่ลูกยังอยู่ในครรภ์ ดังนั้นการที่คู่รักตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ก่อนการตั้งครรภ์จึงเป็นความคิดที่ดี 

สิ่งสำคัญที่พึงตระหนักคือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์สามารถแพร่ได้โดยไม่จำเป็นต้องมีการสัมผัสทางเพศ หมายความว่าการที่คู่รักคนหนึ่งตรวจเจอโรคไม่ได้แปลว่ามีการนอกใจเสมอไป ยกตัวอย่าง อาหารที่ปนเปื้อนก็สามารถทำให้คนติดเชื้อได้เช่นเดียวกับการสัมผัสผิวหนังกันระหว่างเล่นกีฬา 

ดังนั้น การตรวจโรคก่อนจึงทำให้มั่นใจได้ว่าลูกของคุณจะเกิดมามีสุขภาพแข็งแรงที่สุด นอกจากนี้ การตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ยังช่วยให้คุณมีสุขภาพที่ดีและป้องกันการแพร่ของโรคได้ด้วย 

การฉีดวัคซีน

การเจ็บป่วยระหว่างตั้งครรภ์อาจเป็นเรื่องร้ายแรงได้ อาการป่วยไม่เพียงแต่ทำให้คุณแม่อ่อนแอลง แต่ยังส่งผลต่อลูกในครรภ์ด้วย ในบางกรณี ลูกในครรภ์อาจติดเชื้อได้ด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม การป้องกันไว้ก่อนคือการรักษาที่ดีที่สุด และสามารถทำได้โดยการฉีดวัคซีน

ทางที่ดีที่สุดคือรับวัคซีนระหว่าง 3-6 เดือนก่อนการตั้งครรภ์ วัคซีนจะช่วยให้ระบบภูมิคุ้มกันของคุณต่อสู้กับเชื้อโรคได้อย่างรวดเร็ว ช่วยป้องกันไม่ให้คุณป่วย นอกจากนี้วัคซีนสมัยใหม่ยังช่วยปกป้องคุณจากโรคร้ายแรงหลายชนิด ช่วยให้คุณแม่และลูกในครรภ์ปลอดภัย

ฝ่ายชายก็ควรรับวัคซีนเช่นกันเพื่อป้องกันไม่ให้ตนเองป่วย สามารถดูแลคุณแม่ระหว่างการตั้งครรภ์และหลังคลอด นอกจากนี้การพาทารกที่เพิ่งคลอดกลับบ้านพร้อมพ่อแม่ที่ป่วยก็ไม่ใช่ความคิดที่ดีนัก

การตรวจสอบทางพันธุกรรม

โชคดีที่โรคทางพันธุกรรมค่อนข้างพบยาก แต่ในขณะเดียวกันก็อาจร้ายแรง เราอาจไม่มีวันรู้เลยว่าพ่อหรือแม่มีความผิดปกติทางพันธุกรรมเพราะความผิดปกติไม่ได้ส่งผลต่อสุขภาพของพ่อแม่เสมอไป อย่างไรก็ตาม ความผิดปกติเหล่านั้นยังคงมีโอกาสถูกส่งผ่านไปสู่ลูกในครรภ์ได้ และผลกระทบของมันก็เลวร้ายสำหรับทั้งลูกและพ่อแม่

ด้วยเหตุนี้ บางคนจึงเลือกทำการตรวจโรคทางพันธุกรรมก่อนมีลูก โดยเฉพาะในกรณีที่คนในครอบครัวมีความผิดปกติทางพันธุกรรม คนส่วนใหญ่มักจะไม่พบความผิดปกติอะไร ในขณะที่คนที่มีความเสี่ยงจะได้รับคำแนะนำเกี่ยวกับทางเลือกที่ทำได้

สุขภาพจิต

การมีลูกเป็นสิ่งที่ใช้พลังใจอย่างมาก และบางคนก็รับมือได้อย่างยากลำบาก ด้วยเหตุนี้จึงเป็นความคิดที่ดีที่คุณควรตรวจให้มั่นใจว่ามีสุขภาพจิตที่ดีก่อนจะตัดสินใจเดินหน้าต่อไป แพทย์อาจแนะนำไม่ให้คุณมีลูกด้วยเหตุผลทางสุขภาพจิต ซึ่งคนไข้มักจะสามารถรับการรักษาให้ตนเองกลับมามีสุขภาพจิตที่ดีได้

พึงระลึกว่าคนไข้บางส่วนอาจยังประสบปัญหาก่อนการตั้งครรภ์ ไม่ว่าสุขภาพจิตจะเป็นไรอย่างไรก็ตาม ดังนั้นจึงเป็นเรื่องสำคัญมากที่ต้องสนับสนุนซึ่งกันและกันให้มากเท่าที่จะทำได้ระหว่างการตั้งครรภ์และหลังคลอด และอย่าลืมว่าหากคุณหรือคู่รักของคุณเริ่มมีปัญหาทางสุขภาพจิต คุณควรปรึกษาแพทย์ให้เร็วที่สุด สุขภาพจิตที่ดีเป็นสิ่งสำคัญสำหรับทุกคนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงตัวลูกด้วย

สรุป

การมีลูกคือความรับผิดชอบอันยิ่งใหญ่ที่จะอยู่กับคุณไปตลอดชีวิต ดังนั้นจึงเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องเตรียมตัวให้พร้อมที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้เพื่อประโยชน์ของคุณและลูก นั่นหมายรวมถึงการผ่านขั้นตอนต่าง ๆ เพื่อให้มั่นใจว่าลูกจะแข็งแรงและมีสุขภาพที่ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้

สุขภาพของลูกอาจได้รับผลกระทบจากสุขภาพของพ่อแม่และสิ่งแวดล้อมของพ่อแม่ ด้วยเหตุนี้ การที่พ่อแม่ตรวจสุขภาพก่อนมีลูกจึงเป็นความคิดที่ดี ซึ่งโดยปกติแล้วพ่อแม่มักจะไม่มีปัญหาอะไร แต่หากมีปัญหาก็สามารถรักษาได้ในกรณีส่วนใหญ่ หากคุณและคู่รักของคุณมีสุขภาพที่ดี คุณก็สามารถตั้งตารอที่จะสร้างครอบครัวใหม่ได้เลย 

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE