HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว

18 ก.ค. 2023

ผู้ที่มีแผนสร้างครอบครัวและอยากมีบุตร อาจกำลังมองหาข้อมูลอยู่ว่า สิ่งที่ต้องเตรียมการมีอะไรบ้าง ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว หากอยากมีลูกก็อาจมีได้ในทันที แต่ถ้าจะให้ดีเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของเด็กที่จะเกิดมา และความสมบูรณ์ในการตั้งครรภ์ ทั้งคุณพ่อคุณแม่ควรเตรียมตัวให้พร้อมเสียก่อน เพราะการเตรียมพร้อมในบางเรื่องก็สำคัญกว่าที่ใครหลายคนคิด ครั้งนี้ทาง Bangkok Central Clinic ก็จะนำเคล็ดลับดีดีมาฝาก เพื่อการเตรียมตัวก่อนเริ่มต้นครอบครัวโดยเฉพาะ

1.ตรวจโรคทางพันธุกรรม

สิ่งที่จำเป็นเป็นอันดับต้นๆ ของการเริ่มต้นสร้างครอบครัว แนะนำให้คู่สมรสทุกคู่ตรวจโรคทางพันธุกรรมก่อน อาจตรวจก่อนวางแผนมีบุตร หรือตรวจก่อนสมรสเลยก็ได้ เพื่อหาว่าหากชายและหญิงคู่นั้นมีบุตรด้วยกัน มีโอกาสที่จะทำให้บุตรที่เกิดมาเป็นโรคทางพันธุกรรมมากน้อยแค่ไหน ฝ่ายหญิงหรือฝ่ายชายเป็นพาหะหรือไม่

โรคทางพันธุกรรม เกิดจากความผิดปกติของยีนในร่างกาย มีโอกาสที่จะถ่ายทอดจากพ่อแม่ไปสู่ลูกได้ เด็กที่เกิดมาหากป่วยด้วยโรคทางพันธุกรรม ก็มีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคนั้นไปตลอดชีวิต เนื่องจากโรคทางพันธุกรรมหลายโรคไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้นการป้องกันที่ดีที่สุด คือการตรวจโรคทางพันธุกรรมก่อนสมรส

ยกตัวอย่างโรคทางพันธุกรรมที่พบได้บ่อย เช่น ภาวะพัฒนาการทางสติปัญญาช้า โรคกล้ามเนื้อฝ่อลีบ โรคหูพิการแต่กำเนิด โรคธาลัสซีเมีย ดาวน์ซินโดรม โรคตาบอดสี เป็นต้น

2.ตรวจสุขภาพก่อนการตั้งครรภ์

ในคู่สมรสที่ต้องการมีบุตรและวางแผนตั้งครรภ์ ควรตรวจสุขภาพก่อนการตั้งครรภ์ เพื่อตรวจสอบความพร้อมของคุณแม่ ว่าคุณแม่มีสุขภาพที่พร้อมตั้งครรภ์หรือไม่ เพื่อลดความเสี่ยงที่การตั้งครรภ์นั้นจะเป็นอันตราย ทั้งต่อตัวคุณแม่เองและบุตรที่อยู่ในครรภ์ เนื่องจากคุณแม่บางรายสุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง ไม่พร้อมต่อการมีบุตร อาจทำให้เกิดการแท้งภายหลังได้ หรืออาจทำให้การตั้งครรภ์ไม่สำเร็จ 

ในกรณีที่ร่างกายอาจตั้งครรภ์ไม่สำเร็จ หากได้รับการตรวจสุขภาพ แพทย์จะชี้แนะแนวทางในการเตรียมพร้อมร่างกายให้ เพื่อให้คุณแม่สามารถตั้งครรภ์ได้ตามที่วางแผนไว้ ส่วนในกรณีที่ร่างกายคุณแม่อาจไม่พร้อมตั้งครรภ์นั้นมีหลายกรณี ยกตัวอย่างเช่น คุณแม่ที่มีภาวะเบาหวาน ซึ่งเบาหวานก็มีหลายระดับอาการ หากไม่รุนแรงมาก แพทย์อาจจะแนะนำให้ควบคุมระดับน้ำตาล เพื่อให้การตั้งครรภ์ปลอดภัย ซึ่งคุณแม่เองก็ต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัด แต่บางอาการที่มีความรุนแรงแพทย์อาจไม่แนะนำให้ตั้งครรภ์ เพราะอาจเป็นอันตราย มีภาวะครรภ์เป็นพิษได้ หรือทำให้เกิดการแท้งภายหลังการตั้งครรภ์ 

ด้วยเหตุนี้ก่อนการตั้งครรภ์จึงควรผ่านการตรวจสุขภาพเสียก่อน เพื่อเช็คร่างกายให้พร้อมก่อนตั้งครรภ์ และสามารถตั้งครรภ์ได้อย่างปลอดภัย 

3.ตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ก่อนสร้างครอบครัว ควรจะตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ก่อน เพราะอาจเป็นอันตรายต่อคู่สมรสและบางโรคก็ยังเป็นอันตรายต่อบุตรที่จะเกิดมาด้วย เนื่องจากเป็นโรคที่สามารถติดต่อจากแม่สู่ลูกได้ โดยในการตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เรียกว่า การตรวจ STD โรคที่ตรวจส่วนใหญ่ คือ หนองใน (Gonorrhea) หนองในเทียม (Chlamydia) มะเร็งปากมดลูก (HPV) ซิฟิลิส (Syphilis) เริม (Herpes) ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B) เชื้อเอชไอวี (HIV)

โดยในการตรวจ STD นั้นจะมีการซักประวัติ และทำการตรวจเลือดหรือปัสสาวะ เพื่อหาเชื้อเอชไอวี เริม หนองใน ซิฟิลิส และไวรัสตับอักเสบ ตรวจภายใน (Pap smears) เพื่อสังเกตอาการเริ่มต้นของมะเร็งปากมดลูก ตรวจสารคัดหลั่ง และตรวจร่างกาย เพื่อประกอบการวินิจฉัย

4.ตรวจสุขภาพฟัน

ก่อนเริ่มต้นครอบครัวในส่วนของการตรวจสุขภาพฟัน ขอเน้นไปที่คุณแม่ที่มีแผนตั้งครรภ์ เชื่อว่ารายละเอียดส่วนนี้เป็นเรื่องที่หลายคนไม่เคยรู้มาก่อน ว่าการตรวจสุขภาพฟันนั้นก็มีความสัมพันธ์กับการตั้งครรภ์ด้วยเช่นกัน บางข้อมูลแนะนำว่าให้คุณผู้หญิงที่ต้องการมีบุตรทำการตรวจสุขภาพฟันเสียก่อน เพราะอาการของฟันบางอย่าง เป็นอันตรายต่อบุตรในครรภ์ได้อย่างที่ไม่มีใครเคยคาดคิดมาก่อน 

ยกตัวอย่างเช่น การที่คุณแม่มีฟันผุและเหงือกติดเชื้อ จะมีปริมาณเชื้อแบคทีเรียในช่องปาก มีโอกาสสูงที่เชื้อโรคจะถ่ายทอดไปยังบุตรในครรภ์และทำให้เกิดฟันผุตั้งแต่ในครรภ์ อีกทั้งยังมีข้อมูลเผยออกมาว่าโรคปริทันต์อาจเป็นปัจจัยเสี่ยงของภาวะคลอดก่อนกำหนด 

5.ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ที่สำคัญสำหรับคนที่กำลังจะสร้างครอบครัว ควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางอย่าง เพื่อเสริมสร้างครอบครัวที่ดี และเตรียมพร้อมที่จะมีบุตร เนื่องจากพฤติกรรมบางอย่างอาจมีผลต่อการตั้งครรภ์ที่สำเร็จหรือไม่สำเร็จ และถึงแม้จะตั้งครรภ์ได้สำเร็จ แต่บางพฤติกรรมก็ส่งผลต่อเด็กในครรภ์ได้ในระดับรุนแรงได้ โดยพฤติกรรมที่ควรปรับเปลี่ยน ได้แก่

งดสูบบุหรี่

ในคนที่มีพฤติกรรมสูบบุหรี่ทั้งหญิงและชาย หากจะเริ่มต้นครอบครัวควรงดสูบบุหรี่ โดยเฉพาะถ้าหากต้องการตั้งครรภ์ให้สำเร็จ เนื่องจากบุหรี่มีส่วนให้ตั้งครรภ์ยาก และระหว่างตั้งครรภ์คุณแม่ก็ไม่ควรได้รับควันบุหรี่ เพราะมีผลต่อพัฒนาการของเด็กในครรภ์ อาจทำให้เด็กเกิดมาพิการทางสมองได้

งดดื่มแอลกอฮอล์

ในคนที่มีพฤติกรรมดื่มแอลกอฮอล์ ทั้งหญิงและชาย หากจะเริ่มต้นครอบครัวควรงดเช่นกัน เพราะแอลกอฮอล์ก็มีส่วนทำให้มีบุตรยาก เนื่องจากมีผลต่อการผลิตเสปิร์มและการตกไข่ ส่วนในระหว่างการตั้งครรภ์คุณแม่ก็ควรงดดื่มแอลกอฮอล์ด้วยเช่นกัน เพราะมีผลต่อพัฒนาการของเด็กในครรภ์

หลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียด

สำหรับคนที่แผนมีบุตรและเจอกับภาวะมีบุตรยาก บางรายพบว่าประสบปัญหาที่มาจากความเครียด ซึ่งเกี่ยวกับการผลิตเสปิร์มและการตกไข่ ดังนั้นถ้าหากอยากมีบุตรให้สำเร็จ ควรหลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้เครียด และพยายามทำจิตใจให้สบาย ไม่กังวล รวมถึงควรออกกำลังกายเป็นประจำและพักผ่อนให้เพียงพอ จะช่วยลดความเครียดได้ เนื่องจากร่างกายจะมีความสมดุลทางอารมณ์ที่ดี

ทั้งหมดนี้ก็คือเคล็ดลับสำหรับเตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของทั้งพ่อแม่และลูก ที่สำคัญคือการเกิดโรคหรืออาการป่วยที่ไม่พึงประสงค์จากการไม่วางแผนก่อนเริ่มต้นครอบครัว ไม่ควรปล่อยให้เกิดขึ้น หากมีแผนที่จะสร้างครอบครัว หรือมีคำถามเกี่ยวกับ IVF สามารถติดต่อทีมของเราได้ที่ Bangkok Central Clinic IVF & Wellness เราคือคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากชั้นนำแห่งประเทศไทยที่มีเกียรติประวัติผลงานในการรักษาผู้ป่วย

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE