HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์

08 ก.พ. 2024

การตั้งครรภ์หลังจากแท้งบุตรมีโอกาสเกิดขึ้นได้ยากและหลาย ๆ คนก็ต่างมีข้อสงสัยและกังวลใจในหลายประเด็น การแท้งบุตรมีโอกาสเกิดขึ้นได้ในช่วง 23 สัปดาห์แรกซึ่งเป็นเรื่องปกติที่หลายคนกังวล คุณแม่จำนวน 1 ใน 8 ที่ประสบปัญหาการแท้งบุตร ในบทความนี้ เราจะมาแบ่งปันความรู้และสาเหตุที่ทำให้เกิดการแท้งบุตร รวมไปถึงวิธีป้องกันและแก้ไขที่ถูกต้องจากทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจากศูนย์รักษาผู้มีบุตรยาก

สาเหตุที่ทำให้เกิดการแท้งบุตรคืออะไร?

ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถระบุสาเหตุที่แท้จริงของการแท้งลูกได้ แต่ประมาณร้อยละ 50 ของการสูญเสียการตั้งครรภ์ในช่วงแรกมีสาเหตุมาจากปัญหาโครโมโซมของเด็กในครรภ์ซึ่งปัจจัยในด้านอายุของคุณแม่อาจมีส่วนที่ทำให้เกิดความผิดปกติของโครโมโซมนี้ รวมไปถึงเหตุผลด้านสุขภาพอื่น ๆ เช่น โรคเบาหวานที่รุนแรงขึ้นหรือปัญหาเกี่ยวกับมดลูกก็มีบทบาทเช่นเดียวกัน

การแท้งบุตรมักเกิดขึ้นเมื่อเด็กในครรภ์ไม่พัฒนาเท่าอายุครรภ์ ในช่วงไตรมาสแรกประมาณ 2 ใน 3 ของการแท้งลูกมักเกี่ยวข้องกับปัญหาด้านโครโมโซม

โครโมโซมเป็นส่วนสำคัญของเซลล์ที่ควบคุมลักษณะทางกายภาพและการทำงานของเซลล์ เมื่อเซลล์ไข่ผสมกับสเปิร์ม จะเกิดโครโมโซม 2 ชุด โดยชุดหนึ่งมาจากคุณพ่อและอีกชุดมาจากคุณแม่ หากโครโมโซมชุดใดชุดหนึ่งมีจำนวนโครโมโซมที่ผิดปกติ อาจเป็นสัญญาณบ่งชี้ถึงการแท้งลูกได้

สาเหตุที่ทำให้เกิดการแท้งอีกครั้งคืออะไร?

ถ้าหากคุณเคยแท้งลูกมาแล้วหนึ่งครั้ง ไม่ได้หมายความว่าจะเกิดขึ้นอีกครั้งเสมอไป ความเสี่ยงของการแท้งครั้งที่สอง คือ ร้อยละ 20 หลังจากมีการแท้งครั้งแรก และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 28 ในการแท้งครั้งที่สาม และมีโอกาสเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 43 ในครั้งที่สี่ ดังนั้นการมีสุขภาพครรภ์ที่ดีจะเป็นตัวช่วยในการป้องกันการแท้งลูกได้

ช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการตั้งครรภ์หลังแท้งลูกคือช่วงไหน? 

สิ่งสำคัญคืออย่ารีบเร่งที่จะตั้งครรภ์อีกครั้งหลังจากการแท้งบุตร ภาวะการตกไข่และโอกาสที่ไปได้ในการตั้งครรภ์อาจเกิดขึ้นได้เร็วที่สุดภายใน 2 สัปดาห์หลังจากแท้งลูก แต่โดยปกติแล้วเราจะไม่แนะนำให้มีเพศสัมพันธ์เป็นเวลาสองสัปดาห์หลังจากแท้งลูกเพื่อหลีกเลี่ยงการติดเชื้อ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับความพร้อมทั้งด้านร่างกายและอารมณ์ของคุณเมื่อคุณมีความตั้งใจที่จะมีลูกอีกครั้งหลังจากแท้งลูก

ความรู้สึกของการสูญเสียมักเกิดขึ้นหลังจากแท้งลูกที่อาจทำให้คนเป็นพ่อเป็นแม่รู้สึกหดหู่ วิตกกังวลและรู้สึกผิด การแสดงความโศกเศร้าก็แตกต่างกันไปในแต่ละคน ดังนั้นจึงไม่ควรรีบร้อนที่จะมีลูกทันทีหลังจากแท้งลูกซึ่งขั้นตอนแรกที่เราแนะนำคือ ให้ความสำคัญในการฟื้นฟูทางอารมณ์เสียก่อน

การตรวจพิเศษก่อนตั้งครรภ์รอบใหม่

สิ่งที่ควรพึงปฏิบัติอย่างยิ่งเมื่อคุณแม่ประสบปัญหาหลังจากที่แท้งลูกไป คือ การไปปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในด้านสุขภาพซึ่งเราแนะนำให้ทำการตรวจเฉพาะทางเพื่อระบุสาเหตุที่เป็นไปได้ ดังนี้

  • ตรวจเลือด เพื่อประเมินฮอร์โมนหรือปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน
  • ทดสอบโครโมโซม เพื่อประเมินว่าปัจจัยโครโมโซมมีส่วนช่วยได้หรือไม่
  • กระบวนการอื่น ๆ เพิ่มเติม เช่น อัลตราซาวนด์ การผ่าตัดส่องกล้องโพรงมดลูก การฉีดสีตรวจท่อนำไข่ การตรวจโพรงมดลูก หรือ MRI (Magnetic resonance imaging) ซึ่งกระบวนการดังกล่าวนี้สามารถตรวจปัญหาที่เกี่ยวกับมดลูกได้

ทางเลือกอื่นในการรักษา

ทางเลือกในการรักษาอื่น ๆ เช่น  การผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติของมดลูก การทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) หรือการรักษาที่ช่วยในเรื่องการเจริญพันธุ์อื่น ๆ  เป็นทางเลือกที่เราแนะนำสำหรับคุณแม่ที่อยากมีลูกอีกครั้งโดยต้องอาศัยผลตรวจทางการแพทย์ร่วมด้วย ถึงแม้ว่าการแท้งลูกจะยังคงไม่สามารถอธิบายสาเหตุได้อย่างแน่นอน แต่คุณผู้หญิงส่วนใหญ่ที่เคยแท้งลูกมาแล้วก็สามารถประสบความสำเร็จในการตั้งครรภ์ได้ในที่สุด

การเพิ่มโอกาสของการตั้งครรภ์ให้มีสุขภาพดี

แม้ว่าการป้องกันการแท้งลูกอาจไม่ได้ผลเสมอไป การเลือกใช้ชีวิตที่มีคุณภาพถือเป็นสิ่งสำคัญสำหรับทั้งคุณแม่และลูกน้อยในครรภ์ ดังประเด็นที่ควรพิจารณาต่อไปนี้

  • รับประทานวิตามินบำรุงครรภ์หรืออาหารเสริมกรดโฟลิกทุกวัน
  • บริโภคคาเฟอีนให้น้อยลงและหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ และยาเสพติดที่ผิดกฎหมายในระหว่างตั้งครรภ์
  • คุมอาหารการกิน รักษาร่างกายให้ชุ่มชื้นอยู่ตลอด และออกกำลังกายในระดับปานกลางเป็นประจำ
  • นัดหมายตรวจครรภ์เป็นประจำพร้อมระบุข้อกังวลอื่น ๆ กับแพทย์ผู้ให้บริการด้านสุขภาพของคุณ

การมีสุขภาวะทางอารมณ์ที่ดีและความไม่ท้อถอยต่ออุปสรรค

การตั้งครรภ์หลังจากการแท้งบุตรมักมาพร้อมกับอารมณ์ที่แปรปรวน ถึงแม้ว่าจะมีความสุขระหว่างการตั้งครรภ์ครั้งใหม่ แต่ก็ยังมีความวิตกกังวลและความซึมเศร้าอยู่เช่นกัน ดังนั้นการไปพบนักบำบัดหรือได้พูดคุยความรู้สึกกับคู่รัก เพื่อน หรือสมาชิกในครอบครัวอาจเป็นประโยชน์แก่คุณแม่ได้

เมื่อมีคนกล่าวถึงทารกว่าเป็น “ทารกสายรุ้ง” ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของแสงสว่างหลังจากที่ประสบปัญหาอันมืดมิดรอบด้านและเป็นความสบายใจของใครหลาย ๆ คน การเข้าใจถึงการมีอารมณ์ที่หลากหลายและปล่อยให้ตัวเองมีเวลาเยียวยาความรู้สึกถือเป็นสิ่งสำคัญในกระบวนการนี้

ผลกระทบต่อการเจริญพันธุ์และความช่วยเหลือจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

โดยทั่วไปแล้ว การแท้งบุตรเพียงแค่ครั้งเดียวจะไม่ส่งผลกระทบต่อภาวะเจริญพันธุ์ในอนาคตอย่างมีนัยสำคัญ อย่างไรก็ตาม หากคุณประสบปัญหากับการแท้งบุตรซ้ำ ๆ เราแนะนำให้ทำตรวจเช็คร่างกายอย่างละเอียด รวมไปถึงการตรวจภาวะเจริญพันธุ์เพื่อระบุสาเหตุที่เป็นไปได้ ซึ่งมีคุณผู้หญิงเพียงไม่กี่เปอร์เซ็นต์เท่านั้น หรือประมาณ 1% ที่ต้องพบเจอกับการแท้งลูก

หลังจากการแท้งบุตรครั้งแรกแนะนำให้ขอคำแนะนำจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพ คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราพร้อมให้คำแนะนำและช่วยเหลืออย่างครอบคลุมสำหรับคุณแม่ที่พยายามตั้งครรภ์หลังจากการแท้งบุตร

คำถามที่พบบ่อย: แท้งลูก อยากท้องใหม่

ควรพิจารณาการตรวจพิเศษอะไรบ้างก่อนที่จะตั้งครรภ์อีกครั้ง

สำหรับผู้ที่แท้งบุตรติดต่อกันสองครั้งขึ้นไป การขอคำแนะนำจากผู้ให้บริการด้านการแพทย์ถือเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง การทดสอบเฉพาะทางรวมถึงการตรวจเลือดเพื่อประเมินปัญหาของฮอร์โมนหรือระบบภูมิคุ้มกัน การทดสอบโครโมโซมเพื่อประเมินปัจจัยและขั้นตอนต่าง ๆ เช่น อัลตราซาวนด์หรือการผ่าตัดส่องกล้องโพรงมดลูกสามารถตรวจพบสาเหตุที่อาจซ่อนเร้นอยู่ได้

มีตัวเลือกการรักษาอื่น ๆ อะไรบ้าง? 

ทางเลือกในการรักษาอื่น ๆ เช่น  การผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติของมดลูก การทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) หรือการรักษาที่ช่วยในเรื่องการเจริญพันธุ์อื่น ๆ  เป็นทางเลือกที่เราแนะนำสำหรับคุณแม่ที่อยากมีลูกอีกครั้งโดยต้องอาศัยผลตรวจทางการแพทย์ร่วมด้วย ถึงแม้ว่าการแท้งลูกจะยังคงไม่สามารถอธิบายสาเหตุได้อย่างแน่นอน แต่คุณผู้หญิงส่วนใหญ่ที่เคยแท้งลูกมาแล้วก็สามารถประสบความสำเร็จในการตั้งครรภ์ได้ในที่สุด

เพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์ให้มีสุขภาพดีได้อย่างไร? 

แม้ว่าการป้องกันการแท้งลูกอาจไม่ได้ผลเสมอไปแต่การเลือกใช้ชีวิตที่มีคุณภาพถือเป็นสิ่งสำคัญสำหรับทั้งคุณแม่และลูกน้อยในครรภ์ ตามประเด็นดังต่อไปนี้ ได้แก่ การรับประทานวิตามินบำรุงครรภ์ทุกวัน การบริโภคคาเฟอีนที่น้อยลงและหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ ไม่สูบบุหรี่และยาเสพติดที่ผิดกฎหมายในระหว่างตั้งครรภ์ การคุมอาหารการกิน การทำให้ร่างกายให้ชุ่มชื้นอยู่ตลอดเวลา และออกกำลังกายเป็นประจำ และทำการนัดหมายตรวจครรภ์เป็นประจำพร้อมระบุข้อกังวลอื่น ๆ ให้กับแพทย์ผู้ให้บริการด้านสุขภาพของคุณให้ทราบ

ผลกระทบต่อการเจริญพันธุ์คืออะไรและควรขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญตอนไหน?

โดยทั่วไปแล้ว การแท้งบุตรเพียงแค่ครั้งเดียวจะไม่ส่งผลกระทบต่อภาวะเจริญพันธุ์ในอนาคตอย่างมีนัยสำคัญ อย่างไรก็ตามหากคุณประสบปัญหากับการแท้งบุตรซ้ำ ๆ เราแนะนำให้ทำตรวจเช็คร่างกายอย่างละเอียด รวมไปถึงการตรวจภาวะเจริญพันธุ์เพื่อระบุสาเหตุที่เป็นไปได้ ซึ่งมีคุณผู้หญิงเพียงไม่กี่เปอร์เซ็นต์เท่านั้น หรือประมาณ 1% ที่ต้องประสบปัญหากับการแท้งลูก ดังนั้นการขอคำแนะนำจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจึงสำคัญ คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราพร้อมให้คำแนะนำและช่วยเหลืออย่างครอบคลุมสำหรับคุณแม่ที่พยายามตั้งครรภ์หลังจากการแท้งบุตร

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE