HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF

21 ธ.ค. 2021

เด็กหลอดแก้วหรือ IVF หลายคนเคยได้ยินกับคำนี้มาบ้างแล้ว ซึ่งวิธีนี้เป็นวิธีสำหรับผู้ที่ต้องการรักษาภาวะมีบุตรยาก อาจจะเป็นปัจจัยที่เกิดจากพันธุกรรม โรคประจำตัวต่างๆ หรือปัจจัยอื่น ที่ทำให้ไม่สามารถมีบุตรได้อย่างที่ต้องการ ซึ่งในปัจจุบันนี้ก็ได้มีกระบวนการเทคโนโลยีที่ทันสมัย ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรศึกษาและทำความเข้าใจไว้ สำหรับผู้ที่อยากมีลูก แต่ไม่สามารถมีลูกได้ด้วยตนเอง การทำเด็กหลอดแก้วก็ถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือก

หลายคนอาจสงสัยวิธีการทำเป็นอย่างไร ซึ่งการทำเด็กหลอดแก้ว IVF (In-Vitro Fertilization) จะเป็นวิธีการที่คัดเลือกเซลล์สืบพันธุ์ของฝ่ายหญิงเรียกว่าไข่ นำมาผสมกับเซลล์สืบพันธุ์ของฝ่ายชายเรียกว่าอสุจิ ในอุปกรณ์ทดลองทางการแพทย์ เมื่อตัวอ่อนเติบโตได้ระยะ 5 วัน หรือในระยะ บลาสโตซีสท์ แพทย์ก็จะย้ายตัวอ่อนใส่กลับเข้าไปในโพรงมดลูกของฝ่ายหญิง เพื่อให้เกิดการเจริญเติบโตและฝังตัวต่อไป ซึ่งในการเตรียมตัวอ่อนนี้ อาจจะยังมีตัวอ่อนที่เหลือและแข็งแรง ยังสามารถทำการแช่แข็งและเก็บไว้ใช้ในรอบการรักษาต่อไป

ข้อดีของการทำ IVF

1. มีโอกาสสำเร็จมากที่สุดในปัจจุบัน

เพราะการทำ IVF นั้นเป็นการการคัดเลือกไข่จากฝ่ายหญิงนำออกมาผสมกับอสุจิจากฝ่ายชายและรอให้ตัวอ่อนเติบโตอย่างแน่นอน แล้วจึงนำใส่กลับเข้าไปที่โพรงมดลูก แต่ทั้งนี้ก็ต้องมีการดูแลตนเองอย่างสม่ำเสมอหลังจากทำขั้นตอนนี้ ไม่ว่าจะเป็นงดการออกกำลังกายหนัก งดยกของหนัก งดรับประทานอาหารที่อาจทำให้เกิดการท้องเสียได้ และควรทำกิจกรรมที่ผ่อนคลายเพราะเนื่องจากมีผลกระทบต่อฮอร์โมน

2. ผู้หญิงที่ทำหมันแล้วก็สามารถทำได้

ถ้าหากฝ่ายหญิงท่านใดเคยผ่านการทำหมันมาแล้ว ก็สามารถใช้วิธีนี้ได้ ไม่ว่าจะเป็นหมันผูก หรือหมันตัด สามารถทำ IVF ได้เลยโดยที่ไม่จำเป็นต้องแก้หมันก่อน เพราะเนื่องจากการรักษาแบบนี้ไม่ได้มีผลกระทบต่อการลดลงของโอกาสการสำเร็จ เพราะไม่ได้อาศัยท่อนำไข่หรือในบริเวณที่ได้เคยทำหมันไว้แล้ว

3. ไม่มีการผ่าตัด

ขั้นตอนการทำ IVF นั้น ไม่มีการผ่าตัดเข้ามาให้เป็นที่กังวลใจ เพราะขั้นตอนการทำเด็กหลอดแก้วนั้นเริ่มจาก การกระตุ้นไข่ ตรวจเลือดดูระดับฮอร์โมน ทำอัลตร้าซาวด์ และจะมีการฉีดฮอร์โมนกระตุ้นรังไข่ หลังจากนั้นจะมีการเก็บไข่โดยใช้เข็มดูดผ่านทางช่องคลอด แพทย์จะใช้ยาระงับความรู้สึกระยะสั้นเพื่อป้องกันความเจ็บปวดระหว่างเวลาการเก็บไข่ และในขณะเดียวกันจากทางฝ่ายชายจะต้องเก็บอสุจิใส่ภาชนะที่แพทย์ได้เตรียมไว้ให้ เพื่อที่จะนำมาคัดเลือกอสุจิที่มีความสมบูรณ์ที่สุด และนำมาผสมกับไข่ในห้องทดลอง หลังจากนั้นเมื่อเกิดการปฎิสนธิไข่กับอสุจิจนเป็นตัวอ่อนแล้ว จะเจริญเติบโตหลังจากใช้เวลาประมาณ 3-5 วัน จึงจะทำการย้ายตัวอ่อนกลับเข้าโพรงมดลูกโดยการใส่เครื่องมือทางช่องคลอด ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับการตรวจภายใน ขั้นตอนนี้จึงไม่จำเป็นที่จะต้องให้ยาระงับปวด และหลังจากนี้ก็ควรดูแลรักษาตัวเองให้ดีตามแพทย์สั่ง

4. สามารถตรวจโครโมโซมตัวอ่อนได้ (NGS)

การตรวจโครโมโซมตัวอ่อนเป็นเทคโนโลยีที่สามารถตรวจความผิดปกติของโครโมโซมได้ลึกถึงระดับเบส ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่เล็กที่สุดในโครโมโซม จะสามารถช่วยลดปัญหากรณีตัวอ่อนไม่ฝังตัว การตั้งครรภ์ที่โครโมโซมมีความผิดปกติ หรือการแท้งในช่วงสามเดือนแรก มีความแม่นยำสูงเพราะสามารถตรวจความผิดปกติของโครโมโซมได้ครอบคลุมทั้ง 24 โครโมโซมภายในครั้งเดียว เมื่อเทียบกับเทคนิกอื่นๆแล้ว จึงมีอัตราการเกิดความผิดพลาดได้ต่ำที่สุด

เมื่อเราเห็นถึงข้อดีของIVFแล้ว ลองมาดูอีกด้านของการรักษาแบบนี้กันบ้างว่ามีความเสี่ยงหรือข้อควรระวังอย่างไร

ข้อเสียของการทำ IVF

1. มีค่าใช้จ่ายสูง

แน่นอนว่าการรักษาด้วยวิธีนี้อาจจะมีค่าใช้จ่ายที่สูง แต่ก็ถือได้ว่าเป็นราคาที่คุ้มสำหรับครอบครัวที่มีภาวะมีบุตรยากและมีความประสงค์ที่ต้องการมีบุตรเป็นของตนเอง เนื่องจากการทำ IVF นั้นจะมีขั้นตอนที่ค่อนข้างมาก รวมถึงตัวยาที่ต้องใช้ เช่นการกระตุ้นไข่ การป้องกันไข่สุก การเร่งไข่ให้สุก ค่าเก็บเชื้อ เก็บไข่ รวมไปถึงค่าทำอัลตร้าซาวน์

2. ใช้เวลารักษานาน

หลังจากพบแพทย์เพื่อปรึกษาวางแผนการตั้งครรภ์แล้วจะต้องมีการเตรียมตัวจากทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง ซึ่งกระบวนการทำเด็กหลอดแก้วอาจจะใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 4-6 สัปดาห์ โดยระยะเวลาหลังจากที่ได้ทำการย้ายตัวอ่อนเข้าโพรงมดลูกแล้วประมาณ 2 สัปดาห์ ทางแพทย์จะนัดเข้ามาทดสอบการตั้งครรภ์อีกที

3. ภาวะแทรกซ้อนบางประการ

ถึงแม้ว่าอาการแทรกซ้อนอย่างรุนแรงจากการเก็บเซลล์ไข่มีได้น้อย แต่อาจจะมีผลค้างเคียงบ้างเช่นตกขาว ปวดท้องน้อย ท้องบวม หากอาการไม่หายไปเองหรือมีอาการท้องอืด รู้สึกอึดอัด อาการดังนี้เป็นอาการเบื้องต้นของรังไข่ที่ถูกกระตุ้นมากเกินไป ควรพบแพทย์อย่างใกล้ชิด

ทั้งนี้การดูแลตนเองให้ดีทั้งก่อน ระหว่างและหลังรับการรักษาอย่างสม่ำเสมอก็เป็นปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลให้เกิดการสำเร็จได้ โดยเน้นรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ออกกำลังกายหักโหม ทำจิตใจให้สบายไม่วิตกกังวลหรือเครียดมากเกินไป การรับประทานยาควรปฎิบัติตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด และที่สำคัญหากเกิดอาการผิดปกติใดๆ ควรรีบปรึกษาแพทย์อย่างสม่ำเสมอ

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE