HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก

07 ก.ค. 2023

การประสบปัญหาภาวะมีบุตรยากเป็นสิ่งที่ทำให้อารมณ์แปรปรวนได้บ่อยครั้ง ดังนั้นการทำความเข้าใจกับทางเลือกการรักษาภาวะมีบุตรยากด้วยวิธีต่าง ๆ จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้คุณมีความรู้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับเส้นทางการสร้างครอบครัว

คุณอาจสงสัยว่า IUI คืออะไร? Intrauterine Insemination (IUI) หรือการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูกเป็นการรักษาที่ช่วยเติมเต็มความฝันของคู่รักหลายคู่ในการกลายเป็นพ่อแม่ ในบทความนี้ เราจะลงรายละเอียดเกี่ยวกับพื้นฐานของ IUI, ผู้ที่เหมาะสมกับ IUI, กระบวนการของ IUI, อัตราความสำเร็จ, ความเสี่ยง และการเปรียบเทียบกับการรักษาภาวะมีบุตรยากด้วยวิธีอื่น ๆ ซึ่งจะช่วยให้คุณตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง

สรุปโดยย่อ

  • IUI คือการทำผสมเทียม (Artificial Insemination) รูปแบบหนึ่งที่ถูกนำมาใช้เพื่อเพิ่มโอกาสการตั้งครรภ์ และมักเป็นทางเลือกแรกของการรักษาภาวะมีบุตรยาก
  • ผู้ที่เหมาะสมกับ IUI คือคู่รักที่มีภาวะมีบุตรยากแบบหาสาเหตุไม่ได้หรือมีภาวะมีบุตรยากโดยมีสาเหตุจากฝ่ายชายในระดับที่ไม่รุนแรง ซึ่งวิธีนี้ยังมีข้อจำกัดอยู่บ้าง
  • อัตราความสำเร็จของ IUI เมื่อทำควบคู่กับการรับประทานยาที่ใช้ในการรักษาภาวะมีบุตรยากอยู่ที่ประมาณ 20% และอาจมีการพิจารณาทางเลือกการรักษาอื่นเมื่อไม่สำเร็จหรือไม่สามารถทำได้

ทำความเข้าใจ IUI: พื้นฐาน

Intrauterine Insemination (IUI) คือการผสมเทียมรูปแบบหนึ่ง โดยเป็นกระบวนการฉีดอสุจิที่ผ่านการปั่นล้างและคัดแยกแล้วเข้าโพรงมดลูกโดยตรงเพื่อเพิ่มโอกาสในการปฏิสนธิและตั้งครรภ์ จุดประสงค์หลักของ IUI คือการเพิ่มโอกาสที่อสุจิจะไปถึงท่อนำไข่ซึ่งมีไข่รอปฏิสนธิอยู่

IUI เป็นวิธีการรักษาภาวะมีบุตรยากที่มักถูกนำมาพิจารณาก่อนวิธีอื่น ๆ ที่รุกล้ำร่างกายมากกว่า เช่นการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF). ซึ่งค่าใช้จ่ายของกระบวนการ IUI จะแตกต่างกันไปแล้วแต่ปัจจัยต่าง ๆ เช่น คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก การใช้ยา และการทดสอบวินิจฉัย แต่โดยทั่วไปแล้วจะมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)

การฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก (IUI) คืออะไร?

การฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก (IUI) คือการรักษาภาวะมีบุตรยากที่อาศัยการฉีดอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกโดยตรง ส่วนมากมักใช้เป็นวิธีเบื้องต้นก่อนที่จะพยายามด้วยวิธีอื่นที่รุกล้ำร่างกายมากกว่า เช่น การปฏิสนธินอกร่างกาย (IVF)

ขั้นตอนของ IUI ประกอบด้วยการเตรียมความพร้อม การติดตามการตกไข่ การเก็บและเตรียมอสุจิ การดำเนินกระบวนการ IUI การดูแลหลังกระบวนการ IUI และการติดตามผล อัตราความสำเร็จของ IUI นั้นไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับอายุของผู้ป่วยและปัจจัยอื่น ๆ รวมถึงจำนวนรอบการรักษา คุณภาพของอสุจิ และสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก

จุดประสงค์ของ IUI

จุดประสงค์หลักของ IUI คือการเพิ่มโอกาสในการปฏิสนธิและการตั้งครรภ์โดยการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูกโดยตรง ระหว่างการรักษาด้วยวิธี IUI จะมีการสแกนเพื่อประเมินจำนวนฟอลลิเคิลและตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีจำนวนมากเกินไปหรือไม่

หากจำนวนฟอลลิเคิลมีมากเกินไป ควรหยุดการรักษาเพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่จะตั้งครรภ์แฝดหรือทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย

ผู้ที่เหมาะสมกับ IUI: ใครได้ประโยชน์?

ผู้ที่มีภาวะมีบุตรยากแบบหาสาเหตุไม่ได้ มีปัญหามูกไข่ตก หรือมีปัญหาเกี่ยวกับการหลั่งคือผู้ที่เหมาะกับการรักษาด้วยวิธี IUI อย่างไรก็ตาม IUI ไม่เหมาะสำหรับผู้ที่มีความผิดปกติของท่อนำไข่ เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ หรือมีความผิดปกติของอสุจิในระดับรุนแรง

ในบางกรณี ผู้หญิงในวัยสามสิบปลายหรือเกินสี่สิบปีจะถูกแนะนำให้เลือกวิธี IVF แม้ว่า IUI จะเหมาะสมก็ตาม

กระบวนการ IUI: ขั้นตอนต่าง ๆ

1. การปรึกษาเบื้องต้น: คุณจะได้ทำการปรึกษาเบื้องต้นกับผู้เชี่ยวชาญที่ Bangkok Central Clinic ซึ่งจะช่วยตรวจสอบประวัติทางการแพทย์ของคุณ ทำการตรวจร่างกาย และพูดคุยเกี่ยวกับความกังวลเรื่องภาวะมีบุตรยากของคุณ นอกจากนี้ผู้เชี่ยวชาญอาจสั่งตรวจเป็นบางอย่างเพื่อประเมินระดับฮอร์โมนและตรวจสอบภาวะอื่นที่เป็นอยู่ก่อน

2. การชักนำให้ไข่ตก: ในหลายกรณี จะมีการชักนำให้ไข่ตกเพื่อกระตุ้นให้รังไข่ผลิตไข่หลายใบ เป็นการเพิ่มโอกาสสำเร็จของการปฏิสนธิ ซึ่งกระบวนการนี้อาจมีการใช้ยารักษาภาวะมีบุตรยาก เช่น ฮอร์โมนชนิดกินหรือฉีดเพื่อกระตุ้นการเติบโตของไข่

3. การติดตาม: ระหว่างกระบวนการชักนำให้ไข่ตกจะมีการติดตามผลเป็นประจำ โดยจะเป็นการตรวจเลือดและอัลตราซาวด์ การตรวจเหล่านี้ช่วยให้แพทย์สามารถติดตามการเติบโตของไข่และระบุเวลาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการผสมเทียมได้

4. การเก็บตัวอย่างน้ำเชื้อ: ในวันที่จะทำการผสมเทียม ฝ่ายชาย (หรือผู้บริจาคอสุจิ) จะต้องส่งตัวอย่างน้ำเชื้อซึ่งสามารถเก็บได้จากการสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง โดยบรรจุน้ำเชื้อลงในถ้วยปลอดเชื้อที่คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก

5. การเตรียมน้ำเชื้อ: ตัวอย่างน้ำเชื้อจะถูกนำไปผ่านกระบวนการที่เรียกว่าการปั่นล้าง ซึ่งอสุจิจะถูกแยกออกมาจากน้ำอสุจิและนำมาคัดแยก กระบวนการนี้จะช่วยกำจัดสารที่อาจเป็นอันตรายและเพิ่มจำนวนอสุจิที่สามารถเคลื่อนที่ได้

6. กระบวนการผสมเทียม: เมื่อไข่พร้อมสำหรับการปฏิสนธิ กระบวนการ IUI ก็จะเริ่มต้นขึ้น กระบวนการนี้เป็นกระบวนการที่ค่อนข้างเรียบง่ายและไม่เจ็บปวดซึ่งสามารถทำได้ที่คลินิก โดยคุณจะต้องนอนบนเตียงตรวจ แพทย์จะใช้คีมปากเป็ดสอดเข้าไปในอวัยวะเพศเพื่อให้สามารถมองเห็นปากมดลูก ตามด้วยการใช้สายสวนขนาดเล็กสอดผ่านปากมดลูกเข้าไปสู่มดลูก จากนั้นจึงฉีดอสุจิที่เตรียมไว้เข้าสู่มดลูกอย่างระมัดระวังผ่านทางสายสวน

7. การพักฟื้นและการสังเกตอาการ: หลังกระบวนการ คุณจะได้พักฟื้นเป็นระยะเวลาสั้น ๆ ก่อนที่จะสามารถกลับบ้านได้ ผู้หญิงบางส่วนอาจมีอาการปวดเล็กน้อยหรือมีเลือดออกกะปริบกะปรอยหลังกระบวนการ คุณสามารถกลับไปทำกิจกรรมตามปกติได้โดยใช้เวลาไม่นานหลังจบกระบวนการ

8. การติดตามผล: ประมาณสองสัปดาห์หลังจากกระบวนการ IUI คุณจะต้องกลับมาที่คลินิกเพื่อตรวจครรภ์ซึ่งเป็นการยืนยันว่ากระบวนการนี้ประสบความสำเร็จหรือไม่ หากผลเป็นบวก จะมีการนัดหมายต่อไปเพื่อติดตามดูว่าการตั้งครรภ์เป็นไปด้วยดี หากผลเป็นลบ คุณสามารถพูดคุยถึงขั้นตอนต่อไปและทางเลือกการรักษาอื่น ๆ กับผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะมีบุตรยากได้

สิ่งสำคัญคือต้องทราบว่ารายละเอียดเฉพาะของกระบวนการ IUI อาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของแต่ละบุคคล โดยผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะมีบุตรยากที่ ศูนย์รักษาผู้มีบุตรยาก Bangkok Central Clinic จะคอยให้คำแนะนำที่เหมาะสำหรับคุณตลอดกระบวนการ 

การเตรียมตัวสำหรับ IUI

ก่อนการรักษาด้วยวิธี IUI ผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการตรวจร่างกายอย่างครอบคลุม รวมถึงการตรวจภาวะมีบุตรยากที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้ป่วยต้องงดแอลกอฮอล์ การแช่น้ำร้อน และซาวน่าก่อนที่จะทำการรักษา และต้องรับประทานอาหารเสริมกรดโฟลิก

ทั้งนี้ อาจจำเป็นต้องมีการปั่นล้างอสุจิเพื่อการันตีว่ามีจำนวนอสุจิสุขภาพดีเพียงพอสำหรับกระบวนการ

การติดตามการตกไข่

การติดตามการตกไข่เป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับกระบวนการ IUI เนื่องจากสามารถช่วยให้แพทย์ระบุวันที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการผสมเทียมได้ ซึ่งการติดตามการเปลี่ยนแปลงของมูกไข่ตก อุณหภูมิกายขณะพัก และการใช้ชุดทดสอบการตกไข่เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการคาดการณ์วันไข่ตก

ชุดทดสอบการตกไข่สามารถวัดระดับฮอร์โมนลูทิไนซิง (Luteinizing Hormone: LH) ในปัสสาวะ และเป็นหนึ่งในวิธีที่เชื่อถือได้ที่สุดในการคาดการณ์การตกไข่

การเก็บและเตรียมอสุจิ

กระบวนการเก็บและเตรียมอสุจิ หรือที่เรียกว่า “การปั่นล้าง” (Sperm Washing) เป็นการสกัดเอาอสุจิที่สุขภาพดีออกมาเพื่อใช้ในกระบวนการ IUI นอกจากนี้การปั่นล้างยังช่วยกำจัดสารประกอบในน้ำเชื้อที่อาจกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาในมดลูกและขัดขวางการตั้งครรภ์ได้

กระบวนการนี้เป็นการการันตีว่าจะมีเพียงอสุจิที่สุขภาพดีเท่านั้นที่ถูกนำมาใช้ในกระบวนการ IUI

ขั้นตอนของ IUI

ขั้นตอนของ IUI ประกอบด้วยการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูกผ่านทางสายสวน กระบวนการนี้ควรทำในช่วงที่มีการตกไข่เนื่องจากเป็นช่วงที่มีภาวะเจริญพันธุ์สูงสุดในรอบประจำเดือน อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มโอกาสสำเร็จของการตั้งครรภ์ 

กระบวนการนี้เป็นกระบวนการที่เรียบง่าย แทบไม่มีความเจ็บปวด และใช้เวลาเพียงไม่กี่นาทีเท่านั้น

การดูแลหลังกระบวนการ IUI และการติดตามผล

หลังจากการผสมเทียม ผู้ป่วยควรนอนหงายเป็นระยะเวลาสั้น ๆ และเมื่อกระบวนการเสร็จสิ้นแล้วก็สามารถใส่เสื้อผ้าและกลับไปทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ

มีความเป็นไปได้ที่ผู้ป่วยจะมีเลือดออกกะปริบกะปรอยในช่วง 1-2 วันหลังจบกระบวนการ ซึ่งการติดตามสัญญาณการตั้งครรภ์และนัดติดตามผลกับแพทย์เป็นสิ่งจำเป็นในการดูแลหลังกระบวนการ IUI และการติดตามผล

อัตราความสำเร็จของ IUI และปัจจัยที่ส่งผลต่อผลลัพธ์

อัตราความสำเร็จของ IUI ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น อายุ การใช้ยารักษาภาวะมีบุตรยาก และสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก ผู้หญิงบางส่วนอาจต้องรับการรักษาหลายรอบก่อนที่จะตั้งครรภ์สำเร็จ

ในส่วนนี้ เราจะพูดถึงอัตราความสำเร็จโดยทั่วไปและปัจจัยที่ส่งผลต่อผลลัพธ์ของ IUI

อัตราความสำเร็จโดยทั่วไป

เมื่อทำควบคู่กับการใช้ยารักษาภาวะมีบุตรยากแล้ว อัตราความสำเร็จของ IUI อาจสูงถึง 20% ต่อรอบ เราแนะนำว่าควรพยายามด้วยวิธี IUI อย่างน้อยสามรอบเพื่อเพิ่มโอกาสสำเร็จในการตั้งครรภ์

อัตราเจริญพันธุ์สำหรับวิธี IUI นั้นเทียบเท่ากับผู้ที่ตั้งครรภ์ด้วยวิธีปกติซึ่งอยู่ที่ประมาณ 20%

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของ IUI

มีหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของ IUI ซึ่งได้แก่ อายุ โรคที่เกี่ยวเนื่องกับภาวะมีบุตรยาก จังหวะเวลาของการผสมเทียม และจำนวนรอบของการผสมเทียม องค์ประกอบอื่น ๆ ที่อาจส่งผลต่อความสำเร็จของ IUI ได้แก่ ระยะเวลาของภาวะมีบุตรยาก จำนวนอสุจิทั้งหมดที่เคลื่อนที่ได้ และการใช้ยาเพื่อกระตุ้นการตกไข่

การเข้าใจปัจจัยเหล่านี้สามารถช่วยให้ทั้งผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์สามารถตัดสินใจได้อย่างมีความรู้ว่าควรปฏิบัติอย่างไรจึงจะดีที่สุดเพื่อการตั้งครรภ์ที่ประสบความสำเร็จ

ความเสี่ยงและผลข้างเคียงของ IUI

แม้ IUI จะถือว่าเป็นกระบวนการที่ปลอดภัย แต่ก็ยังคงมีความเสี่ยงและผลข้างเคียง ซึ่งอาจรวมถึงอาการแทรกซ้อนจากยารักษาภาวะมีบุตรยาก เช่น การตั้งครรภ์แฝด หรือมีผลข้างเคียงเล็กน้อยเช่นอาการปวดท้องหรือเลือดออกกะปริบกะปรอย

อาการแทรกซ้อนที่เป็นไปได้

อาการแทรกซ้อนที่เป็นไปได้ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับ IUI อาจรวมถึงอาการปวดท้อง ท้องอืดหรือบวม คลื่นไส้หรืออาเจียน ปัสสาวะออกน้อยลง หายใจไม่อิ่มหรือหายใจลำบาก มีเลือดออกจากอวัยวะเพศ การอักเสบ การติดเชื้อ หรือฟกช้ำ

นอกจากนี้ ผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นได้จากยารักษาภาวะมีบุตรยากอาจรวมถึงอาการปวดท้องหรือเลือดออกกะปริบกะปรอย ดังนั้นสิ่งสำคัญคือต้องทราบถึงอาการแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นและพูดคุยกับบุคลากรทางการแพทย์เกี่ยวกับความกังวลของคุณ

ผลข้างเคียง

ผลข้างเคียงที่พบบ่อยจาก IUI อาจรวมถึงอาการร้อนวูบวาบ อารมณ์แปรปรวน ภาวะซึมเศร้า คลื่นไส้ ปวดหัว มีความผิดปกติของการมองเห็น รังไข่บวมและเจ็บ ท้องอืด มีของเหลวรั่วไหลสู่ช่องท้อง และภาวะขาดน้ำ

กรณีที่พบได้ไม่บ่อยคืออาการแพ้โปรตีนในน้ำเชื้อซึ่งนำไปสู่ภาวะมีบุตรยาก ซึ่งอาจมีอาการปวด อึดอัดไม่สบายตัว และวิงเวียนร่วมด้วย ดังนั้นสิ่งสำคัญคือต้องติดตามและรายงานผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นให้บุคลากรทางการแพทย์ทราบ

การเปรียบเทียบระหว่าง IUI และการรักษาภาวะมีบุตรยากด้วยวิธีอื่น

IUI เป็นวิธีที่รุกล้ำร่างกายน้อยกว่าและมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับทางเลือกอื่น เช่น การปฏิสนธินอกร่างกาย (IVF) อย่างไรก็ตาม วิธีนี้อาจไม่เหมาะสมสำหรับบางคนหรือบางภาวะ

ในส่วนนี้ เราจะเปรียบเทียบ IUI กับการรักษาภาวะมีบุตรยากด้วยวิธีอื่น ๆ รวมถึงเมื่อไรที่ควรพิจารณาทางเลือกอื่นหาก IUI ไม่ประสบผลสำเร็จ 

IUI vs. IVF

IUI เป็นวิธีที่ราคาไม่แพงและรุกล้ำร่างกายน้อยกว่า IVF ซึ่งค่าใช้จ่ายของ IUI แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น คลินิกรักษาผู้มีบุตรยาก ประวัติทางการแพทย์ การใช้ยา และการทดสอบวินิจฉัย แต่โดยทั่วไปแล้วจะมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่า IVF ซึ่งมักจะอยู่ที่ประมาณ 350,000 – 700,000 บาทหรือมากกว่าสำหรับการทำรอบแรก 

อย่างไรก็ตาม IVF เป็นวิธีที่ได้รับการแนะนำมากกว่าสำหรับผู้หญิงที่อายุเกิน 40 ปี นอกจากนี้ บุคลากรทางการแพทย์ยังแนะนำว่าควรรักษาด้วยวิธี IUI สามรอบก่อนที่จะเลือกการรักษาด้วยวิธีอื่น เช่น IVF 

เมื่อไรที่ควรพิจารณาทางเลือกอื่น

ทางเลือกอื่นนอกเหนือจาก IUI อาจถูกนำมาพิจารณาหาก IUI ไม่ประสบผลสำเร็จหลังจากพยายามแล้วหลายรอบหรือมีปัจจัยบางอย่างที่ทำให้โอกาสสำเร็จของ IUI ลดลง หากผู้ป่วยไม่เหมาะกับวิธี IUI ด้วยอายุหรือปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาวะมีบุตรยาก บุคลากรทางการแพทย์อาจเสนอวิธี IVF แทน IUI

อย่างไรก็ตาม การพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์ของคุณกับบุคลากรทางการแพทย์จะสามารถช่วยให้คุณพบวิธีที่ดีที่สุดสำหรับการตั้งครรภ์ได้ 

สรุป 

ในบทความนี้ เราได้กล่าวถึงข้อมูลพื้นฐานของการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก (IUI) จุดประสงค์ ผู้ที่เหมาะสม กระบวนการ อัตราความสำเร็จ ความเสี่ยง และการเปรียบเทียบกับการรักษาภาวะมีบุตรยากด้วยวิธีอื่น ๆ ซึ่งการทำความเข้าใจแง่มุมทั้งหลายของ IUI จะช่วยให้คุณสามารถตัดสินใจเกี่ยวกับเส้นทางการสร้างครอบครัวได้อย่างมีความรู้

หากคุณกำลังประสบปัญหาเกี่ยวกับภาวะมีบุตรยากและกำลังพิจารณาทางเลือกต่าง ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยาก คุณสามารถพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญได้ที่ Bangkok Central Clinic ได้เลยตั้งแต่วันนี้

อย่าลืมว่าเส้นทางสู่การเป็นพ่อแม่อาจมีอุปสรรคและความท้าทาย แต่ด้วยข้อมูลที่ถูกต้องและการสนับสนุนที่ดี การเติมเต็มความฝันของคุณย่อมเป็นไปได้เสมอ

คำถามที่พบบ่อย

ความแตกต่างระหว่าง IUI และ IVF คืออะไร?

IUI และ IVF ต่างก็เป็นทางเลือกสำหรับคู่รักที่ประสบปัญหาในการตั้งครรภ์ IUI อาศัยการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูกโดยตรง แต่สำหรับ IVF ไข่และอสุจิจะถูกผสมในห้องปฏิบัติการ จากนั้นจึงย้ายเข้าโพรงมดลูก

ท้ายที่สุดแล้ว ทางเลือกที่ดีที่สุดย่อมขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของแต่ละบุคคล

วิธี IUI ใช้ระยะเวลานานเท่าไรจึงจะตั้งครรภ์?

โดยเฉลี่ยแล้ว คู่รักที่เลือกวิธีฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก (IUI) ใช้เวลาสองถึงสามรอบจึงจะตั้งครรภ์ แม้กระบวนการจะแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล แต่โดยทั่วไปแล้ว IUI เป็นทางเลือกที่ปลอดภัยและราคาไม่แพงสำหรับผู้ที่ต้องการจะตั้งครรภ์

กระบวนการ IUI เจ็บหรือไม่?

โดยทั่วไป กระบวนการ IUI นั้นไม่เจ็บและผู้หญิงส่วนใหญ่เกิดความรู้สึกไม่สบายตัวน้อยมากระหว่างกระบวนการ การฉีดอสุจิผ่านทางปากมดลูกอาจทำให้รู้สึกปวดบีบเล็กน้อย แต่อาการปวดท้องที่เกิดขึ้นจากกระบวนการมักบรรเทาได้ด้วยยาแก้ปวดหรือยาระงับความรู้สึก

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE