HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

ภาวะอารมณ์ระหว่างการทำเด็กหลอดแก้ว
READ MORE

เคล็ดลับการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิตเพื่อปรับปรุงภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

บทบาทของยาแผนโบราณในการสนับสนุนภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร

18 ก.ค. 2023

ในคู่สมรสที่มีบุตรยาก อาจสงสัยอยู่ว่าทำไมถึงเกิดปัญหานี้ขึ้นมา ซึ่งสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหานี้ก็มีอยู่หลายอย่างด้วยกัน หลักๆ มาจากร่างกายที่มีปัญหาด้านระบบสืบพันธุ์ ทำให้มีบุตรยากหรือไม่สามารถมีบุตรได้ ปัญหาร่างกายอาจมาจากพฤติกรรมบางอย่างที่สามารถปรับเปลี่ยนได้ด้วย เพื่อทำความเข้าใจร่วมกัน ครั้งนี้ก็จะนำเอาสาเหตุของการมีบุตรยากหลายอย่างมาอธิบายให้ได้รับทราบทั่วกัน

1.อสุจิไม่แข็งแรง

สาเหตุแรกจากฝ่ายชายก็คือมีการผลิตอสุจิได้ แต่อสุจิที่ได้ไม่แข็งแรง หากมีรูปร่างที่ไม่ปกติ ก็จะทำให้การปฏิสนธิมีปัญหาได้ เช่นหัวอสุจิมีขนาดเล็กเกินไป จนไม่สามารถเจาะผนังเซลล์ไข่เข้าไปผสมกับไข่ได้ รวมถึงอสุจิที่มีการเคลื่อนที่ช้า อาจมีปัญหาเรื่องการเดินทางไปถึงรังไข่ หากเดินทางไม่ถึงรังไข่ก็จะไม่สามารถปฏิสนธิกับเซลล์ไข่ได้ ทำให้ไม่สามารถมีบุตรได้สำเร็จ สาเหตุที่ทำให้อสุจิไม่แข็งแรงนั้นมีหลายอย่าง อาทิ การใช้สารเคมี ความเครียด ความร้อน เป็นต้น บางสาเหตุที่ทำให้อสุจิไม่แข็งแรง สามารถแก้ได้ที่พฤติกรรมบางอย่าง แต่ถ้าปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแล้วไม่หาย ต้องใช้การรักษาภาวะผู้มีบุตรยากด้วยวิธีต่างๆ เช่น การทำเด็กหลอดแก้วแบบ IVF หรือ การทําอิ๊กซี่ ICSI เป็นต้น

2.อสุจิปริมาณน้อยเกินไป

ในการปฏิสนธิเพื่อการตั้งครรภ์ที่สำเร็จ ปริมาณอสุจิก็มีส่วนสำคัญ หากมีไม่เพียงพอหรือน้อยเกินไป ก็ทำให้การปฏิสนธิกับเซลล์ไข่ไม่สำเร็จเช่นกัน ในปริมาณที่น้อยโอกาสที่จะมีอสุจิที่แข็งแรงก็จะน้อยตามไปด้วย อสุจิจึงจำเป็นต้องมีปริมาณที่เพียงพอ เพื่อที่โอกาสของการมีอสุจิที่แข็งแรงจะได้มีปริมาณที่เพียงพอตามไปด้วยนั่นเอง และการที่มีปริมาณอสุจิที่เพียงพอ ก็มีทั้งสาเหตุที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ และสาเหตุที่ไม่สามารถแก้ไขที่พฤติกรรมได้เช่นกัน ต้องใช้การรักษาภาวะผู้มีบุตรยากด้วยวิธีต่างๆ เช่น

การทำเด็กหลอดแก้ว(IVF) เป็นต้น

3.ไข่ไม่ตก

มาที่ปัญหาที่เกิดจากฝ่ายหญิงบ้าง การตั้งครรภ์ได้จะต้องอาศัยการตกไข่ที่เป็นปกติ หากไข่ไม่ตก ก็จะไม่เกิดการปฏิสนธิ ปัญหานี้อาจเกิดจากความเครียด หรือความผิดปกติของรังไข่ ซึ่งเป็นอวัยวะที่มีหน้าที่ผลิตเซลล์ไข่ หากเกิดจากความเครียด ให้หลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียด ลดความกังวลและทำใจสบายๆ อาจช่วยแก้ปัญหาได้ แต่ถ้าหากลองแล้วไม่หาย ต้องใช้การรักษาภาวะผู้มีบุตรยากด้วยวิธีต่างๆ เช่น

การฉีดอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูก IUI ที่มีการฉีดกระตุ้นไข่ให้เจริญเติบโตและไข่ตกตามรอบเดือน 

4.ท่อนำไข่อุดตัน

สาเหตุสำคัญอีกหนึ่งประการที่เกิดจากฝ่ายหญิง คือคนที่มีความผิดปกติที่ท่อนำไข่ หากมีการอุดตันก็จะทำให้อสุจิไม่สามารถเดินทางไปปฏิสนธิกับไข่ได้ เพราะต้องเดินทางผ่านทางท่อรังไข่ ในการรักษาภาวะมีบุตรยาก อาจใช้วิธี IUI ได้ แต่ท่อรังไข่ต้องอุดตันเพียงข้างเดียวเท่านั้น อีกข้างต้องใช้งานได้ ซึ่งการทำ IUI จะฉีดน้ำเชื้อเข้าโพรงมดลูกผ่านท่อรังไข่ที่ยังเหลืออยู่ แต่ถ้าอุดตันทั้ง 2 ข้างจะต้องใช้วิธีอื่น การทำเด็กหลอดแก้วแบบ IVF หรือ การทําอิ๊กซี่ ICSI ที่จะทำการดูดไข่ออกมาและปฏิสนธิกับอสุจิภายนอกร่างกาย

5.ความผิดปกติที่มดลูก

มดลูกเป็นอวัยวะที่สำคัญในการตั้งครรภ์ เนื่องจากเมื่อเกิดการปฏิสนธิระหว่างอสุจิและไข่จนเจริญเป็นตัวอ่อนแล้ว ตัวอ่อนจะฝังตัวที่มดลูก เพื่อเจริญไปเป็นทารกตามลำดับ หากมดลูกมีปัญหา เช่น เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ กล้ามเนื้อมดลูกหนา มดลูกโต เป็นต้น ก็จะทำให้การตั้งครรภ์เป็นไปได้ยาก และมีอัตราการแท้งสูง ต้องแก้ไขให้ตรงจุด อย่างปัญหาเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ชนิดไม่รุนแรง สามารถทำ IUI ได้ แต่ถ้าหากรุนแรงจะต้องใช้วิธีอื่น เช่นการทำเด็กหลอดแก้วแบบ IVF หรือ การทําอิ๊กซี่ ICSI 

6.ถุงน้ำรังไข่

ในผู้หญิงบางคนพบปัญหาภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบ ส่งผลต่อการมีบุตรเช่นกัน เพราะจะทำให้การทำงานของรังไข่ผิดปกติ และไม่เกิดการตกไข่ จึงไม่มีการผสมกับอสุจิ การตั้งครรภ์จึงไม่เกิดขึ้น วิธีนี้ต้องใช้การรักษาที่มีการฉีดกระตุ้นให้ไข่เจริญเติบโตและตกไข่ตามรอบเดือนปกติ 

7.มะเร็งในระบบสืบพันธุ์

อีกหนึ่งสาเหตุที่สำคัญและทำให้มีบุตรยากก็คือการป่วยด้วยโรคมะเร็งในระบบสืบพันธุ์ เช่น มะเร็งรังไข่ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งอัณฑะ มะเร็งต่อมลูกหมาก ทำให้การผลิตไข่หรือผลิตอสุจิมีปัญหา รวมถึงการปฏิสนธิมีปัญหา แต่พบว่าปัจจุบันมะเร็งบางอย่างสามารถรักษาให้หายได้และมีลูกหลังการรักษาได้ เช่น มะเร็งปากมดลูก ที่มีการรักษาด้วยวิธีส่องกล้อง ทำให้ไม่ต้องตัดมดลูกทิ้ง จึงมีบุตรหลังการรักษาได้

สาเหตุที่ทำให้ร่างกายมีภาวะมีบุตรยาก 

1.พฤติกรรม

สาเหตุแรกที่ทำให้ฝ่ายหญิงหรือฝ่ายชายพบปัญหาดังกล่าว คือพฤติกรรมที่ส่งผลต่อฮอร์โมนที่ช่วยเรื่องการตั้งครรภ์ หรือส่งผลต่อการผลิตไข่และผลิตอสุจิ อย่างเช่นความเครียด หากคู่สมรสที่มีความเครียดสะสม ไม่ว่าจะฝ่ายหญิงหรือฝ่ายชาย ก็จะทำให้ผลิตไข่และอสุจิได้น้อย จึงควรหลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียด หรือการสูบบุหรี่และการดื่มแอลกอฮอล์ก็มีผลทำให้มีลูกยากเช่นกัน 

ดังนั้นหากพบปัญหามีบุตรยาก ควรหลีกเลี่ยงพฤติกรรมดังกล่าว หรือในผู้หญิงที่กินยาคุมกำเนิดติดต่อกันนานกว่า 5 ปี จะทำให้ผนังมดลูกบางลง และมีปัญหาในการตั้งครรภ์ ตัวอ่อนไม่สามารถฝังตัวได้ และอัตราแท้งสูง

2.ประวัติอาการป่วยที่ระบบสืบพันธุ์

หากเคยมีประวัติอาการป่วยที่ระบบสืบพันธุ์ เช่น การติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน ปีกมดลูกอักเสบ อาจทำให้ท่อนำไข่ตีบตันได้ จึงปิดกั้นการเดินทางของอสุจิที่จะไปผสมกับไข่

3.เคยขูดมดลูก

ในผู้หญิงที่เคยผ่านการทำแท้ง ในลักษณะที่เคยขูดมดลูกมาก่อน ทำให้มดลูกมีความผิดปกติ ก็มีโอกาสที่จะมีบุตรยากเช่นกัน

4.อายุมาก

ในคนอายุมาก มีปัญหาเรื่องไข่ไม่ตก ผลิตอสุจิได้น้อย อสุจิไม่แข็งแรง จึงส่งผลต่อการมีบุตร สามารถแก้ไขโดยการฝากไข่หรือฝากอสุจิไว้ตอายุน้อยๆ และสามารถมีบุตรตอนอายุมากได้

บทความที่เกี่ยวข้อง อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?

ทั้งหมดนี้ก็เป็นข้อมูลเรื่องของสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะมีบุตรยาก ปัจจุบันสามารถแก้ไขได้ด้วยเทคนิคการรักษาต่างๆ ทั้งนี้ควรปรึกษาแพทย์ในคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากโดยตรง

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

ภาวะอารมณ์ระหว่างการทำเด็กหลอดแก้ว
READ MORE

เคล็ดลับการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิตเพื่อปรับปรุงภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

บทบาทของยาแผนโบราณในการสนับสนุนภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE