HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?

05 มิ.ย. 2024

การรับประทานอาหารเสริมกรดโฟลิกคือหนึ่งในเรื่องง่าย ๆ แต่มีประโยชน์ที่สุดสำหรับสุขภาพของลูกน้อยในครรภ์ ไม่ว่าคุณจะกำลังวางแผนตั้งครรภ์หรือตั้งครรภ์แล้วก็ตาม วิตามิน B9 หรือกรดโฟลิกเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของตัวอ่อน รวมถึงป้องกันความบกพร่องของท่อประสาท (Neural Tube Abnormalities) ดังนั้นผู้เชี่ยวชาญที่คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราที่กรุงเทพฯ จึงแนะนำให้ผู้หญิงทุกคนในวัยเจริญพันธุ์บริโภคกรดโฟลิกอย่างเพียงพอแม้จะยังไม่ตั้งครรภ์ก็ตาม โดยบทความนี้จะอธิบายถึงเหตุผลที่กรดโฟลิกมีความสำคัญและแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับกรดโฟลิก

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์? 

เนื่องจากความบกพร่องของท่อประสาทสามารถเกิดขึ้นในได้สัปดาห์แรก ๆ ของการตั้งครรภ์ และหลายครั้งมักจะเกิดขึ้นหลังจากที่ผู้หญิงจะรู้ตัวว่าตั้งครรภ์ ดังนั้นทางที่ดีที่สุดคือการรับประทานอาหารเสริมกรดโฟลิกทุกวันเมื่อพยายามจะตั้งครรภ์ เนื่องจากสมอง กะโหลก และไขสันหลังของตัวอ่อนมีการเจริญเติบโตมาจากท่อประสาท การรับประทานกรดโฟลิกในปริมาณที่เพียงพอจะช่วยให้ท่อประสาทปิดสนิทในช่วงแรกของการตั้งครรภ์

ที่มา: Compound Chemistry website

กรดโฟลิกช่วยปกป้องทารกในครรภ์จากอะไรบ้าง?

กรดโฟลิกช่วยป้องกันความบกพร่องของท่อประสาท เช่น ภาวะทารกไม่มีสมองและกะโหลกศีรษะ (Anencephaly) และภาวะไขกระดูกสันหลังไม่ปิดในเด็กแรกเกิด (Spina Bifida) โดยขึ้นอยู่กับปริมาณกรดโฟลิกที่ได้รับทั้งก่อนและหลังการตั้งครรภ์

สำนักงานวิจัยและคุณภาพการดูแลสุขภาพ (AHRQ) รายงานว่า กรดโฟลิกที่รับประทานในช่วงก่อนและช่วงแรกของการตั้งครรภ์สามารถช่วยป้องกันความบกพร่องของท่อประสาทได้มากถึง 70% ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบร้ายแรงที่อาจเกิดขึ้นจากความผิดปกติโดยกำเนิด สตรีมีครรภ์จึงสามารถลดความเสี่ยงของลูกน้อยได้ง่าย ๆ ด้วยการรับประทานกรดโฟลิก

ที่มา: Spina Bifida Association website

กรดโฟลิกไม่ได้ช่วยเพียงป้องกันความผิดปกติแต่กำเนิดเท่านั้น 

แม้ว่าการรับประทานกรดโฟลิกเป็นวิธีที่นิยมใช้ในการป้องกันความบกพร่องของท่อประสาท แต่วิตามิน B ชนิดนี้ยังช่วยส่งเสริมสุขภาพและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์อีกด้วย โดยกรดโฟลิกมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการเติบโตอย่างรวดเร็วของทารกในครรภ์ ไม่ว่าจะเป็นการควบคุมการแสดงออกของยีน การแบ่งเซลล์ และการสังเคราะห์เซลล์เม็ดเลือดแดง

นอกจากนี้ การได้รับกรดโฟลิกอย่างเพียงพอยังช่วยลดความเสี่ยงของภาวะต่อไปนี้ได้ด้วย

  • การคลอดก่อนกำหนด
  • ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
  • การแท้ง
  • โรคมะเร็งในเด็ก
  • พัฒนาการล่าช้า

ผู้หญิงควรเริ่มและหยุดรับประทานกรดโฟลิกเมื่อไหร่? 

สำหรับผู้หญิงที่วางแผนจะมีบุตร แพทย์แนะนำให้เริ่มรับประทานกรดโฟลิกเป็นประจำทุกวันอย่างน้อยหนึ่งเดือนก่อนที่จะพยายามตั้งครรภ์ เพื่อเป็นการสะสมระดับวิตามินในร่างกายก่อนการตั้งครรภ์จริง ด้วยเหตุนี้ องค์การด้านสุขภาพ เช่น CDC จึงแนะนำให้ผู้หญิงทุกคนที่สามารถตั้งครรภ์ได้รับประทานกรดโฟลิกประมาณ 400 ไมโครกรัม (0.4 มิลลิกรัม) ทุกวัน

ที่มา: National Birth Defects Prevention Network website

สำหรับผู้หญิงที่ตั้งครรภ์แล้ว ให้รับประทานกรดโฟลิกในปริมาณที่แนะนำต่อไปอย่างน้อยจนถึงสี่หรือหกสัปดาห์หลังคลอด เนื่องจากการฟื้นฟูร่างกายจากการคลอดก็ต้องอาศัยปริมาณโฟเลตที่เพียงพอเช่นกัน

ในบางกรณี แพทย์จะแนะนำให้รับประทานกรดโฟลิกมากขึ้นเมื่อตั้งครรภ์แล้ว ซึ่งได้แก่กรณีต่อไปนี้

  • ตั้งครรภ์แฝด หรือตั้งครรภ์แฝดหลายคน
  • เคยมีประวัติคลอดบุตรออกมาพร้อมความบกพร่องของท่อประสาท
  • มีโรคประจำตัวบางชนิด เช่น เบาหวาน

เมื่อคุณเข้ารับการตรวจภาวะมีบุตรยาก แพทย์ที่คลินิกรักษามีบุตรยากของเราในกรุงเทพฯ จะตรวจสอบประวัติทางการแพทย์และความเสี่ยงต่าง ๆ อย่างละเอียดเพื่อพิจารณาว่าคุณควรได้รับกรดโฟลิกในปริมาณที่มากขึ้นหรือไม่

ปริมาณกรดโฟลิกระหว่างการตั้งครรภ์

มีหลายปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดปริมาณกรดโฟลิกที่ผู้หญิงควรได้รับระหว่างการตั้งครรภ์ แต่ในกรณีส่วนใหญ่ ปริมาณที่แนะนำสำหรับผู้หญิงที่มีสุขภาพแข็งแรงมีดังต่อไปนี้

  • 400 mcg ต่อวันระหว่างการตั้งครรภ์
  • 500 mcg ต่อวันในช่วงที่ให้นมบุตร

การรับประทานกรดโฟลิกให้เพียงพอสามารถทำได้ด้วยการรับประทานวิตามินบำรุงครรภ์ร่วมกับอาหารที่มีปริมาณโฟเลตสูง เช่น ถั่ว ผลไม้ตระกูลส้ม ผักใบเขียว ธัญพืช และซีเรียลที่ผสมโฟเลต

อย่างไรก็ตาม ในกรณีของผู้หญิงที่มีความเสี่ยงสูงต่อการตั้งครรภ์ทารกที่มีความบกพร่องของท่อประสาท แพทย์อาจแนะนำให้รับประทานกรดโฟลิกในปริมาณสูงถึง 4,000 mcg ซึ่งจะต้องมาจากอาหารเสริมเท่านั้น เพราะอาหารปกติไม่สามารถช่วยให้ได้รับกรดโฟลิกในปริมาณมากขนาดนี้ได้

จะเกิดอะไรขึ้นหากไม่ได้รับกรดโฟลิกในระหว่างตั้งครรภ์? 

แม้ภาวะขาดโฟเลตอย่างรุนแรงจะไม่ค่อยพบในประเทศที่พัฒนาแล้ว แต่หากไม่ได้รับการรักษา ก็อาจส่งผลร้ายต่อสตรีมีครรภ์ได้ดังนี้

ความบกพร่องของท่อประสาท

ดังที่กล่าวไปแล้วว่าการป้องกันความบกพร่องของท่อประสาทอย่างรุนแรงที่ส่งผลต่อสมองและกระดูกสันหลังของทารกขึ้นอยู่กับวิตามินชนิดนี้เป็นหลัก ความผิดปกติเหล่านี้มักปรากฏในช่วงสัปดาห์แรก ๆ ของการตั้งครรภ์ ซึ่งเป็นช่วงก่อนที่ผู้หญิงส่วนใหญ่จะรู้ตัวว่าตั้งครรภ์

ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย

ทารกที่คลอดออกมาด้วยน้ำหนักแรกคลอดต่ำเนื่องจากแม่ขาดกรดโฟลิกมีแนวโน้มที่จะประสบปัญหามากกว่าทารกทั่วไป

การคลอดก่อนกำหนด

ภาวะขาดกรดโฟลิกมีความสัมพันธ์กับการคลอดก่อนกำหนด ซึ่งคือการคลอดก่อน 37 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์ ทารกที่คลอดก่อนกำหนดมีความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาการหายใจ พัฒนาการล่าช้า และความผิดปกติอื่น ๆ

นอกจากผลกระทบที่กล่าวไปแล้ว ภาวะขาดกรดโฟลิกระหว่างตั้งครรภ์ยังอาจส่งผลต่อสุขภาพในด้านอื่น ๆ ได้อีก ดังนี้

  • โรคโลหิตจาง
  • พัฒนาการล่าช้า
  • ความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเพิ่มขึ้น
  • ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์

เริ่มต้นได้ง่าย ๆ

ข่าวดีก็คือการรับประทานกรดโฟลิกในปริมาณที่เพียงพอนั้นทำได้ง่ายและราคาไม่แพง คุณสามารถทำได้โดยการรับประทานอาหารเสริมและอาหารที่หลากหลายเป็นประจำ ทั้งนี้ แม้ว่ากรดโฟลิกจะมีประโยชน์ต่อสุขภาพโดยทั่วไปของผู้หญิงระหว่างตั้งครรภ์และในช่วงให้นมบุตร แต่ก็จำเป็นสำหรับช่วงเวลาทั้งก่อนและระหว่างการตั้งครรภ์ด้วยเช่นกัน

ทีมงานของเราที่คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากในกรุงเทพฯ จะให้ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของกรดโฟลิก และแนะนำปริมาณที่เหมาะสม ไม่ว่าคุณจะกำลังพยายามมีบุตรหรือตั้งครรภ์อยู่แล้วก็ตาม เราเชื่อว่าการให้ความรู้เป็นวิธีที่ดีที่สุดในการทำให้คนไข้ของเราได้มีโอกาสตั้งครรภ์อย่างปลอดภัยที่สุด

หากคุณกำลังวางแผนจะมีบุตร อย่าเสี่ยงกับสุขภาพของลูกน้อยในครรภ์ และเพื่อให้มั่นใจว่าคุณได้รับกรดโฟลิกในปริมาณที่เพียงพอ ให้เลือกรับประทานวิตามินบำรุงครรภ์ที่มีกรดโฟลิกตามปริมาณที่แนะนำ วิธีการง่าย ๆ นี้จะช่วยป้องกันความบกพร่องของท่อประสาทได้อย่างดีเยี่ยม

แพทย์ผู้เชี่ยวชาญและทีมงานของเราพร้อมตอบทุกคำถามเกี่ยวกับประโยชน์ของกรดโฟลิก รวมไปถึงเทคนิคอื่น ๆ สำหรับการเตรียมตัวตั้งครรภ์ หากคุณกำลังวางแผนจะมีบุตร นัดหมายปรึกษากับ Bangkok Central Clinic ได้เลยวันนี้ 

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE