HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?

06 ธ.ค. 2022

ในบรรดาคู่รักที่ต้องการตั้งครรภ์ พวกเขามีโอกาสที่จะต้องเจอกับภาวะมีบุตรยาก กว่าครึ่งของกรณีที่มีบุตรยากนั้นฝ่ายชายคือปัจจัยหลักหรือส่วนหนึ่งของปัญหา ซึ่งในบรรดาผู้ชายเหล่านี้มีประมาณ 10% ที่ผลิตน้ำเชื้อซึ่งตรวจแล้วไม่พบตัวอสุจิ ภาวะนี้เรียกว่า Azoospermia 

น้ำเชื้อคือน้ำที่พุ่งออกมาจากอวัยวะเพศชายหลังสำเร็จความใคร่ เมื่อนำสสารสีขาวขุ่นนี้เข้าเครื่องหมุนเหวี่ยงและตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์กำลังขยายสูงและพบว่าไม่มีตัวอสุจิ ชายคนนั้นจะถูกวินิจฉัยว่ามีภาวะไม่มีอสุจิ

ภาวะไม่มีอสุจิเกิดจากอะไร

มีสองเหตุผลหลักที่ก่อให้เกิดภาวะนี้ เหตุผลแรกคือการอุดตันหรือไม่เชื่อมต่อกันในบางจุดในระบบอวัยวะสืบพันธุ์ที่ขัดขวางไม่ให้อสุจิที่ถูกผลิตในอัณฑะได้ออกมา นอกจากนี้ยังอาจมาจากการที่ฝ่ายชายทำหมัน ซึ่งหมายความว่าฝ่ายชายมีอสุจิแต่ถูกขัดขวางไม่ให้ออกมากับน้ำเชื้อ สิ่งนี้เรียกว่าการอุดตันของทางเดินอสุจิ (obstructive azoospermia)

อีกหนึ่งสาเหตุที่เป็นไปได้ของภาวะไม่มีอสุจิคือความบกพร่องของอัณฑะหรือภาวะอื่น ๆ ที่ทำให้ไม่มีการผลิตอสุจิหรือมีน้อย ภาวะนี้เรียกว่าไม่มีการอุดตันของทางเดินอสุจิ (non-obstructive azoospermia)

อะไรคือ TESE?

TESE ย่อมาจาก Testicular Sperm Extraction หรือการเจาะเก็บอสุจิโดยตรงจากอัณฑะ เป็นการรักษาผู้ชายที่มีภาวะไม่มีอสุจิ และเป็นวิธีเบื้องต้นในการรักษาผู้ชายที่มีภาวะอุดตันของทางเดินอสุจิโดยผ่าตัดเอาเนื้อเยื่ออัณฑะออกมาเพื่อหาอสุจิ

ขั้นตอนของ TESE เป็นอย่างไร?

TESE เป็นการผ่าตัดเล็กเพื่อเก็บอสุจิจากอัณฑะโดยตรง สามารถทำได้โดยการใช้ยาชาเฉพาะตรงตำแหน่งที่ต้องการทำหัตถการ ระงับความรู้สึกระดับปานกลาง หรือระงับความรู้สึกแบบทั่วทั้งร่างกาย ระหว่างกระบวนการ ตัวอย่างเนื้อเยื่อจะถูกนำออกจากลูกอัณฑะผ่านรอยผ่าขนาดเล็กที่เจาะถึงถุงอัณฑะ ตัวอย่างเนื้อเยื่อจะถูกส่งไปวิเคราะห์โดยที่แพทย์ยังไม่ทราบว่ามีโอกาสพบอสุจิหรือไม่ หากพบอสุจิที่สุขภาพดี อสุจิเหล่านั้นจะถูกสกัดออกในห้องปฏิบัติการและเก็บไว้ในขวดฉีดยา อสุจิอาจถูกใช้โดยตรงในการปฏิสนธิกับไข่ผ่านกระบวนการ IVF หรือ ICSI หรืออาจถูกแช่แข็งเพื่อใช้ในอนาคต

เมื่อใช้ในการปฏิสนธินอกร่างกายหรือ IVF นั่นหมายความว่าอสุจิจำนวนมากถูกพบและส่งไปเจอกับไข่เพื่อให้เกิดการปฏิสนธิ อย่างไรก็ตามในหลายกรณีของ TESE ภาวะไม่มีอสุจิหมายถึงจำนวนอสุจิที่น้อย ทำให้ ICSI อาจเป็นตัวเลือกที่แนะนำ

ICSI หรือ intracytoplasmic sperm injection คือการคัดเลือกอสุจิหนึ่งตัวเพื่อฉีดเข้าไปในเซลล์ไข่หนึ่งใบด้วยเข็มขนาดเล็ก หลังจากการปฏิสนธิโดยตรงนี้เสร็จสิ้นแล้ว ตัวอ่อนจะใช้เวลาเติบโต 5-6 วันก่อนจะถูกย้ายเข้าโพรงมดลูกของฝ่ายหญิงหรือแช่แข็งไว้

microTESE คืออะไร?

Microsurgical testicular sperm extraction หรือ microTESE คือการเปลี่ยนแปลงของ TESE โดยออกแบบมาเพื่อเก็บอสุจิจากผู้ชายที่ถูกวินิจฉัยว่ามีภาวะไม่มีการอุดตันของทางเดินอสุจิ อสุจิจะถูกเก็บจากโครงสร้างขดที่เป็นหลอดสร้างอสุจิของอัณฑะ หลอดสร้างอสุจิคือส่วนประกอบหลักของอัณฑะ คิดเป็น 90% ของเนื้อเยื่ออัณฑะ ซึ่งอสุจิจะถูกผลิตภายใต้ผนังของหลอดสร้างอสุจิ

แพทย์จะแนะนำกระบวนการนี้เมื่อพบว่าผู้ป่วยมีระดับฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนที่เพียงพอระหว่างการตรวจฮอร์โมน แต่การตรวจอื่น ๆ ทำให้ได้ข้อสรุปว่าอัณฑะผลิตอสุจิได้ไม่เพียงพอ นอกจากนี้ยังถูกใช้เพื่อรักษาผู้ที่มีภาวะไม่มีการอุดตันของทางเดินอสุจิที่ผ่านการรักษาภาวะมีบุตรยากแต่ไม่ประสบผลสำเร็จอีกด้วย

microTESE มีขั้นตอนอย่างไร?

ระหว่างกระบวนการ ผู้ป่วยจะถูกระงับความรู้สึกแบบทั่วทั้งร่างกาย จากนั้นแพทย์จะเจาะรูขนาดเล็กไปถึงถุงอัณฑะทำให้กล้องจุลทรรศน์กำลังขยายสูงสามารถมองเห็นข้างในอัณฑะและหาตำแหน่งของหลอดสร้างอสุจิที่บวมและน่าจะมีอสุจิ ตัวอย่างเนื้อเยื่อจะถูกเก็บจากหลอดเหล่านี้ก่อนการปิดรอยผ่า กระบวนการนี้อาจทำซ้ำอีกครั้งที่อัณฑะอีกหนึ่งข้าง

นักเทคนิคการแพทย์จะทำการตรวจเนื้อเยื่อด้วยกล้องจุลทรรศน์มาตรฐานเพื่อหาว่ามีอสุจิหรือไม่ หากพบอสุจิ อสุจิจะถูกสกัดออกเพื่อใช้ในกระบวนการ IVF หรือ ICSI หรือแช่แข็งเพื่อใช้ในอนาคต

TESE และ microTESE เหมาะกับใคร?

ดังที่กล่าวไปว่า TESE มักจะทำในผู้ชายที่มีภาวะอุดตันของทางเดินอสุจิ ในขณะที่ microTESE เหมาะสมกับผู้ที่มีภาวะไม่มีการอุดตันของทางเดินอสุจิ ในทั้งสองกรณี เป้าหมายคือตรวจสอบว่ามีอสุจิในเนื้อเยื่ออัณฑะหรือไม่ และสกัดออกเพื่อใช้ในกระบวนการ IVF หรือ ICSI หรือแช่แข็งเพื่อใช้ในอนาคต ผู้ป่วยของทั้งสองกระบวนการคือผู้ป่วยนอกและต้องมีผู้ดูแลผู้ป่วยหลังจากนั้นเป็นเวลา 2-3 วัน

ปกติแล้วอสุจิจะไม่ถูกนำไปใช้กับกระบวนการ IUI หรือการฉีดน้ำอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูกหรือท่อนำไข่เพื่อให้เจอกับไข่และทำการปฏิสนธิ อสุจิไม่ถูกนำไปใช้ในกระบวนการ IUI เนื่องจากอสุจิถูกเก็บโดยตรงจากหลอดสร้างอสุจิโดยอสุจิยังไม่ได้เรียนรู้การว่าย

มีหลายวิธีในการรักษาภาวะไม่มีอสุจิ แต่หากการรักษาเช่นการให้ฮอร์โมนทดแทน หรือการผ่าตัดเพื่อซ่อมแซมส่วนที่อุดตันในระบบสืบพันธุ์เพศชายไม่ได้ผล กระบวนการเหล่านี้อาจเป็นตัวเลือกให้พิจารณาได้ และยังเป็นตัวเลือกแนะนำในกรณีที่ผู้ป่วยไม่มีเวลาในการรักษาด้วยวิธีที่กล่าวไปข้างต้น

ผู้ชายที่ต้องรับการรักษามะเร็งแต่ถูกวินิจฉัยว่ามีภาวะไม่มีอสุจิจะได้รับการแนะนำให้ใช้วิธีนี้เพื่อให้มีตัวอย่างอสุจิที่ยังใช้ได้เก็บไว้ในกรณีที่ต้องการมีลูกแท้ ๆ ของตนภายหลัง หากกระทำโดยแพทย์และนักเทคนิคการแพทย์ที่มีทักษะสูง อัตราสำเร็จของกระบวนการนี้ก็อาจสูงตาม

TESA คืออะไร? 

TESA ย่อมาจาก Testicular sperm aspiration หรือการเจาะเก็บอสุจิโดยตรงจากอัณฑะ เป็นวิธีเก็บอสุจิในกรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะอุดตันของทางเดินอสุจิ ผู้ป่วยยังคงผลิตอสุจิในระดับปกติแต่มีการอุดตันหรือบกพร่องที่ขัดขวางไม่ให้อสุจิออกมา ในกรณีนี้จะไม่มีการผ่าตัด โดยจะใช้การบริหารยาชาเฉพาะตรงตำแหน่งที่ต้องการทำหัตถการ และใช้เข็มเจาะเข้าไปในอัณฑะและหลอดสร้างอสุจิเพื่อดูดอสุจิออกมา เป็นหัตถการที่ไม่ซับซ้อนและไม่มีการเย็บแผล หากไม่สำเร็จ ผู้ป่วยอาจได้รับคำแนะนำให้ใช้วิธี TESE แทน 

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE