HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

IVF คืออะไร?

01 มิ.ย. 2023

IVF ย่อมาจาก In Vitro Fertilization (การปฏิสนธินอกร่างกาย) ในบริบทนี้ In Vitro หมายถึงกระบวนการที่เกิดขึ้นภายนอกร่างกาย โดยการปฏิสนธิเกิดขึ้นภายใต้สภาพควบคุมในหลอดทดลองหรืออุปกรณ์อื่นที่ใกล้เคียง

กระบวนการ IVF จะมีการเก็บน้ำเชื้อและไข่ จากนั้นนำมาผสมให้เกิดการปฏิสนธินอกร่างกาย โดยปกติคุณแม่จะได้รับยาเพื่อช่วยกระตุ้นให้เกิดการตกไข่ และจะได้รับยาอีกหลายชนิดระหว่างกระบวนการ

เมื่อไข่ผ่านการปฏิสนธิแล้วจะถูกเพาะเลี้ยงเป็นเวลาหลายวันให้เจริญเติบโต จากนั้นจึงทำการย้ายตัวอ่อน ซึ่งเมื่อย้ายเข้าสู่มดลูกแล้ว ตัวอ่อนจะเจริญเติบโตจนกระทั่งกลายเป็นทารกในที่สุด

อย่างไรก็ตาม แม้ IVF จะมอบโอกาสให้คู่รักมากมายได้มีลูกเป็นของตนเอง แต่ก็ไม่ได้ผลสำหรับทุกคนเสมอไป คุณควรเตรียมตัวที่จะต้องพยายามหลายครั้งหากจำเป็นก่อนประสบผลสำเร็จ

ผู้คนมากมายทั่วโลกมีความฝันว่าจะได้เป็นพ่อแม่ในสักวันหนึ่ง คู่รักจำนวนมากโชคดีที่มีลูกได้โดยไม่มีหรือมีอุปสรรคน้อยมาก ทำให้พวกเขาสมหวังในสิ่งที่ปรารถนา

อย่างไรก็ตาม ระบบสืบพันธุ์ของผู้ชายและผู้หญิงมีความซับซ้อนและมีหลายภาวะที่สามารถส่งผลต่อภาวะเจริญพันธุ์ของคนคนหนึ่ง นั่นหมายความว่าบางคู่อาจไม่สามาถมีลูกได้ด้วยวิธีธรรมชาติ (การมีเพศสัมพันธ์) แต่ข่าวดีคือ IVF สามารถช่วยผู้คนมากมาย รวมถึงคู่รักที่ประสบปัญหามีบุตรยากให้มีครอบครัวอย่างที่หวังได้

สาเหตุที่เป็นไปได้ของภาวะมีบุตรยาก

อย่างที่ได้กล่าวไปว่ามีหลายเหตุผลที่คนคนหนึ่งจะมีปัญหาในการตั้งครรภ์ เหตุผลส่วนหนึ่งที่พบได้มากที่สุดมีดังต่อไปนี้:

  • เนื้องอกมดลูก: เนื้องอกมดลูกเป็นเนื้องอกที่ไม่ใช่มะเร็งซึ่งอยู่ภายในมดลูก พบค่อนข้างบ่อยและโดยปกติไม่ได้ก่อให้เกิดปัญหา แต่สามารถนำไปสู่ภาวะมีบุตรยากได้ในบางกรณี
  • ท่อนำไข่เสียหาย: ไข่จะเดินทางไปยังรังไข่เพื่อเจริญเติบโต จากนั้นจะเดินทางไปยังมดลูกผ่านท่อนำไข่ หากท่อนำไข่เสียหายหรือตีบตันก็อาจทำให้ผู้ป่วยมีภาวะมีบุตรยากได้
  • เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่: เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่เป็นภาวะที่เยื่อบุมดลูกสามารถเจริญเติบโตนอกมดลูกได้เอง ภาวะนี้สามารถส่งผลร้ายแรงต่อระบบสืบพันธุ์ และนำไปสู่ภาวะมีบุตรยาก
  • อสุจิสุขภาพไม่ดี: ผู้ชายบางส่วนผลิตอสุจิในปริมาณที่ไม่เพียงพอ หรืออสุจิไม่แข็งแรงพอที่จะให้ผลลัพธ์ที่ต้องการ ในบางกรณี ปัญหานี้สามารถแก้ได้ด้วยการเปลี่ยนไลฟ์สไตล์หรือใช้การแพทย์เข้าช่วย ซึ่ง IVF เป็นทางเลือกที่เป็นที่นิยมในกรณีที่ผู้ป่วยมีอสุจิที่สุขภาพไม่แข็งแรง
  • ยารักษาโรค: ยาบางประเภท เช่น ยารักษาโรคมะเร็งบางชนิดอาจทำให้ผู้ป่วยมีภาวะมีบุตรยากได้ นอกเหนือจากนี้ยังมีโอกาสที่ยาบางชนิดจะเป็นอันตรายต่อทารกในครรภ์ด้วย ดังนั้นการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญจึงเป็นทางที่ดีที่สุดหากคุณกำลังพิจารณาวิธี IVF และจำเป็นต้องรับยาในขณะเดียวกัน
  • การทำหมัน: บางคนผ่าตัดทำหมันเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ อย่างไรก็ตาม เมื่อเวลาผ่านไป ผู้คนมีการเปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยบางส่วนที่ผ่านการทำหมันมาแล้วอาจตัดสินใจในท้ายที่สุดว่าอยากมีลูก การแก้หมันเป็นทางเลือกในหลายกรณี แต่ IVF ก็สามารถช่วยได้เช่นเดียวกัน
  • โรคทางพันธุกรรม: บางคนมีโรคทางพันธุกรรมที่ทำให้พวกเขาไม่สามารถมีลูกได้ ในบางกรณี โรคทางพันธุกรรมก็ทำให้คู่รักที่ไม่มีภาวะมีบุตรยากลังเลที่จะมีลูกเนื่องจากกลัวว่าจะส่งต่อโรคนั้นสู่ลูกของตน ในกรณีนี้ IVF สามารถช่วยเลือกตัวอ่อนสุขภาพดีเพื่อย้ายเข้าสู่มดลูกได้
  • ไม่สามารถอธิบายได้: ในบางสถานกาณ์ ผู้เชี่ยวชาญก็ไม่สามารถหาสาเหตุของภาวะมีบุตรยากได้ ไข่และอสุจิอาจแข็งแรงทั้งคู่ ไม่มีปัญหาหรือภาวะใดที่ขัดขวางการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของไข่ ในกรณีเช่นนี้ IVF เป็นตัวช่วยที่ดีเนื่องจากสามารถช่วยให้คู่รักก้าวข้ามอุปสรรคอะไรก็ตามที่ขัดขวางการตั้งครรภ์

กระบวนการ IVF เจ็บหรือไม่?

IVF Treatment ไม่ได้เจ็บแต่อย่างใด เพียงแต่ผู้ป่วยบางส่วนอาจรู้สึกไม่สบายตัวบ้าง ในการรักษาจะมีการใช้เข็มฉีดเข้าร่างกาย ซึ่งอาจลำบากสำหรับผู้ป่วยที่กลัวเข็ม หัตถการที่สำคัญเช่นการเก็บไข่อาจทำให้เจ็บได้ แต่โดยปกติมักจะทำโดยใช้ยาสลบ เพราะฉะนั้นความเจ็บปวดจึงมีน้อยมาก

เมื่อคุณรู้สึกเจ็บเมื่อใดก็ตาม ให้รีบติดต่อแพทย์ โดยเฉพาะในกรณีที่เจ็บรุนแรง ความเจ็บนั้นอาจเป็นสัญญาณของอาการแทรกซ้อนที่จำเป็นต้องรักษาให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้เพื่อสุขภาพของคุณแม่และลูกในครรภ์ นอกจากนี้คุณควรติดต่อแพทย์ด้วยเช่นกันเมื่อรู้สึกว่ามีบางอย่างผิดปกติ

คุณสามารถเลือกเพศของลูกด้วยวิธี IVF ได้หรือไม่?

ใช่แล้ว คุณสามารถเลือกเพศของลูกได้ด้วย IVF ซึ่งการวินิจฉัยความผิดปกติของโครโมโซมก่อนการฝังตัวของตัวอ่อน

 (Preimplantation Genetic Diagnosis) ช่วยให้ผู้เชี่ยวชาญสามารถเลือกตัวอ่อนที่มีโครโมโซมเพศชายหรือหญิงได้ กระบวนการเลือกเพศมีความแม่นยำสูงถึง 100% หากทำตามขั้นตอนทั้งหมดอย่างถูกต้อง

มีหลายเหตุผลที่คู่รักต้องการเลือกเพศของลูก ยกตัวอย่าง คู่รักอาจมีลูกสาวสองคนแล้ว และอยากได้ลูกชายเพื่อความสมดุล ในกรณีเช่นนี้ คู่รักอาจเลือกวิธี IVF เพื่อที่จะได้เลือกเพศของลูกคนต่อไป

กระบวนการ IVF ใช้เวลานานแค่ไหนกว่าจะตั้งครรภ์?

วงจรของ IVF ใช้เวลาประมาณ 4 สัปดาห์ เป็นเวลาเท่ากับรอบประจำเดือนของเพศหญิง อย่างไรก็ตาม ในกระบวนการต้องมีการตรวจความพร้อมก่อนมีบุตร (Fertility Checkup) การปรึกษา และการตรวจ ขั้นตอนเหล่านี้จะทำให้กระบวนการใช้เวลานานขึ้น

อย่าลืมว่า IVF Treatment มักไม่สำเร็จภายในครั้งแรก แต่คุณสามารถพยายามอีกกี่ครั้งก็ได้ตามต้องการ ดังนั้นจึงเป็นเรื่องปกติที่ผู้ป่วยจะตั้งครรภ์ได้หลังจากพยายามมาแล้วหลายครั้ง

การเก็บอสุจิสำหรับ IVF ทำได้อย่างไร?

การเก็บอสุจิมักทำโดยการขอให้ฝ่ายชายเก็บตัวอย่างน้ำเชื้อจากการสำเร็จความใคร่ด้วยตัวเอง ตัวอย่างน้ำเชื้อจะถูกเก็บไว้ในภาชนะที่ปลอดภัยและสามารถแช่แข็งไว้ได้หลายเดือน/ปีโดยยังคงสภาพสมบูรณ์

อย่างไรก็ตาม การเก็บอสุจิจากการสำเร็จความใคร่ด้วยตัวเองไม่สามารถทำได้เสมอไป ยกตัวอย่าง ผู้ป่วยอาจผ่านการทำหมันชายมาแล้วซึ่งหมายความว่าจะไม่มีอสุจิออกมาจากการหลั่งน้ำเชื้อ ในกรณีเช่นนี้ สามารถเก็บอสุจิได้โดยตรงจากอัณฑะ

วิธีที่เป็นที่นิยมที่สุดสำหรับการเก็บอสุจิจากอัณฑะคือการเจาะเก็บอสุจิโดยตรงจากอัณฑะ หรือ Testicular Sperm Aspiration (TESA) เป็นหัตถการที่ใช้เข็มแทงผ่านอัณฑะและดูดอสุจิออกมา มีการใช้ยาชาเฉพาะที่ระหว่างทำหัตถการเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยรู้สึกเจ็บ ในบางกรณี วิธี TESA ก็ไม่สามารถเก็บอุจิได้เพียงพอและจำเป็นต้องผ่าตัดชิ้นเนื้อ

การทำ IVF ต้องใช้อสุจิของตนเองหรือไม่?

ในกรณีส่วนใหญ่ คู่รักจะใช้อสุจิของฝ่ายชายเพื่อปฏิสนธิ แต่วิธีนี้ไม่สามารถใช้ได้กับทุกกรณีเสมอไป ยกตัวอย่าง ผู้หญิงโสดหลายคนต้องการมีลูกด้วยตนเองจึงจำเป็นต้องหาอสุจิ ซึ่งในกรณีส่วนใหญ่ ผู้ป่วยจะได้รับอสุจิจากผู้บริจาคนิรนามหรืออาจมีการตกลงกับผู้บริจาคที่รู้จักกัน

ข้อเสียของ IVF มีอะไรบ้าง?

IVF ช่วยเติมเต็มความฝันของผู้คนมากมายในการมีครอบครัว แต่นั่นไม่ได้แปลว่าจะไม่มีข้อเสียเสมอไป ข่าวดีคือข้อเสียเหล่านี้มักไม่ได้เป็นอันตราย แต่จะเป็นการดีที่สุดหากคุณได้ทราบความเสี่ยง

ต่อไปนี้คือข้อเสียบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับ IVF:

  • การตั้งครรภ์แฝด: คลินิก IVF หลายแห่งจะฝังตัวอ่อนมากกว่าหนึ่งตัวลงในมดลูกเพื่อเพิ่มโอกาสสำเร็จ แน่นอนว่าโอกาสในการตั้งครรภ์จะสูงขึ้น แต่ก็ทำให้คุณแม่ต้องเผชิญความเสี่ยงที่จะตั้งครรภ์ทารกมากกว่าหนึ่งคน การตั้งครรภ์แฝดสองหรือแฝดสามอาจเป็นเรื่องที่ดีสำหรับบางคน แต่สำหรับบางคนก็ไม่ใช่เรื่องที่พึงประสงค์
  • การตั้งครรภ์นอกมดลูก: การตั้งครรภ์นอกมดลูกคือภาวะอันตรายที่ไข่มีการฝังตัวนอกมดลูก ในกรณีส่วนใหญ่ ไข่จะฝังตัวอยู่ในท่อนำไข่และเจริญเติบโตต่อไป ทั้งนี้แม้ว่า IVF จะทำให้โอกาสในการตั้งครรภ์นอกมดลูกเพิ่มขึ้น แต่ก็ยังถือว่ามีความเป็นไปได้ต่ำและการผ่าตัดตัวอ่อนออกสามารถทำได้อย่างปลอดภัย
  • ความเครียด: IVF อาจทำให้คุณเครียดได้ ไม่ว่าจะเป็นความกังวลเกี่ยวกับผลลัพธ์หรือความกังวลว่ากระบวนการจะเป็นอย่างไร และแน่นอนว่ารวมถึงความเครียดเกี่ยวกับการกลายเป็นพ่อแม่ ดังนั้น ยิ่งได้รับการสนับสนุนจากคู่รักและคนรอบตัวเท่าไรก็จะดียิ่งดีต่อตัวคุณ
  • ภาวะแทรกซ้อนจากการทำหัตถการ: ศัลยแพทย์ที่ทำหัตถการ IVF มักจะเป็นแพทย์ที่มีทักษะสูงและผ่านการฝึกอบรมมาอย่างดี อย่างไรก็ตาม แพทย์ก็ยังคงเป็นมนุษย์และแม้แต่แพทย์ที่มีทักษะมากที่สุดก็สามารถผิดพลาดได้ ความผิดพลาดนั้นอาจนำไปสู่การฉีกขาดหรือความเสียหายในลักษณะคล้ายกันของเนื้อเยื่อภายในที่บอบบาง แต่ข่าวดีคืออาการแทรกซ้อนเช่นนี้สามารถรักษาได้ง่ายและในกรณีส่วนมากไม่พบความเสี่ยง
  • ค่าใช้จ่าย: เป็นเรื่องน่าเศร้าสำหรับหลายคนที่ IVF ไม่ใช่กระบวนการที่ราคาถูก กระบวนการนี้ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ของแพทย์ผู้ผ่านการฝึกอบรมอย่างดีและเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุด และกระบวนการนี้อาจมีราคาสูงขึ้นอีกเมื่อพิจารณาว่าโดยมากจะต้องทำหลายครั้ง ผู้ป่วยบางส่วนอาจมองหาทางเลือกที่ราคาต่ำกว่า แต่นั่นไม่ใช่ทางออกที่ดีนักเพราะการใช้บุคลากรที่เชี่ยวชาญอย่างแท้จริงเป็นสิ่งที่สำคัญต่อความปลอดภัยของคุณ

อัตราความสำเร็จของ IVF อยู่ที่เท่าไร?

โอกาสที่คุณจะตั้งครรภ์ด้วยวิธี IVF ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย โดยอายุเป็นหนึ่งในปัจจัยที่ส่งผลมากที่สุด ซึ่ง NHS เผยว่าผู้หญิงที่อายุต่ำกว่า 35 ปีจะมีโอกาสสำเร็จอยู่ที่ประมาณ 32% และโอกาสจะลดลงเหลือ 4% สำหรับผู้หญิงที่อายุ 44 ปีขึ้นไป

สถิตินี้แตกต่างกันไปตามแหล่งที่มา แต่พัฒนาขึ้นในภาพรวมเนื่องจากมีเทคโนโลยีที่ใหม่และดีขึ้น รวมถึงกระบวนการที่ก้าวหน้ามากขึ้น ทั้งนี้ อย่าลืมว่าทุกคนมีความแตกต่างกัน ดังนั้นโอกาสสำเร็จของคุณจึงอาจสูงหรือต่ำกว่าค่าเฉลี่ย

ให้โอกาสที่ดีที่สุดแก่ตัวคุณเอง

หนึ่งในวิธีที่ดีที่สุดในการเพิ่มโอกาสสำเร็จใน IVF Treatment คือการรักษาสุขภาพกายและใจทั้งก่อนและระหว่างกระบวนการ ซึ่งไม่ได้หมายถึงการรับประทานแต่อาหารเพื่อสุขภาพเพียงอย่างเดียว แต่เป็นการรับประทานอาหารอย่างสมดุลเพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารที่จำเป็นอย่างครบถ้วน

การออกกำลังกายเบา ๆ เป็นสิ่งที่ช่วยได้สำหรับคนที่ไม่ได้โลดโผน แต่สำหรับผู้คลั่งไคล้การออกกำลังกายอาจต้องปรับลดลงเพื่อไม่ให้ร่างกายใช้แรงมากเกินไป การหลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์และคาเฟอีนก็เป็นอีกหนึ่งข้อที่แนะนำเป็นอย่างยิ่ง นอกจากนี้ คุณยังควรจำกัดปริมาณคาเฟอีนต่อวัน หากคุณไม่แน่ใจว่าอะไรสามารถทำได้หรือไม่ได้ ทางที่ดีที่สุดคือสอบถามแพทย์เพื่อความมั่นใจ

เราสามารถตั้งครรภ์ธรรมชาติหลังจาก IVF ได้หรือไม่?

แน่นอน คุณสามารถตั้งครรภ์ธรรมชาติได้หลังจากผ่านกระบวนการ IVF Treatment การรักษาไม่มีผลถาวรกับระบบสืบพันธุ์ ดังนั้นทุกอย่างควรใช้งานได้เป็นปกติ อีกทั้งการเข้ารับการรักษายังอาจนำไปสู่การจัดการกับภาวะที่ซ่อนอยู่ จึงเพิ่มโอกาสที่คุณจะตั้งครรภ์ตามธรรมชาติได้หลังผ่านกระบวนการ IVF Treatment

อย่างไรก็ตาม เหตุผลที่คนเลือก IVF Treatment ตั้งแต่แรกเนื่องจากพวกเขามีอุปสรรคในการตั้งครรภ์ตามธรรมชาติ ดังนั้น ตามสถิติจึงมีคนจำนวนน้อยที่ตั้งครรภ์ตามธรรมชาติหลังผ่านกระบวนการ IVF Treatment แต่นั่นก็ไม่ใช่ความผิดของ IVF Treatment แต่อย่างใด

จะเกิดอะไรขึ้นกับร่างกายของคุณหลังจากทำ IVF Treatment ไม่สำเร็จ?

IVF Treatment ที่ไม่สำเร็จอาจส่งผลเชิงลึกต่อร่างกายและจิตใจของคุณ ระดับฮอร์โมนอาจไม่สมดุลและในขณะเดียวกันผู้ป่วยก็ผิดหวังเป็นทุนเดิมกับความล้มเหลวที่เกิดขึ้น ร่างกายอาจมีความเหนื่อยล้า ในขณะเดียวกัน ผู้ป่วยอาจมีอาการหลากหลาย ได้แก่:

  • ความเหนื่อยล้า: IVF Treatment ที่ไม่สำเร็จทำให้ร่างกายอ่อนเพลีย และอาจนำไปสู่ความเหนื่อยล้า ผู้ป่วยหลายคนจำเป็นต้องพักผ่อนระยะหนึ่งเพื่อฟื้นฟูร่างกาย
  • ปวดหัว: ผู้ป่วยบางส่วนรู้สึกปวดหัวหลังผ่านกระบวนการ IVF Treatment ที่ไม่สำเร็จคุณควรพบแพทย์หากมีอาการปวดหัวรุนแรง
  • นอนไม่หลับ: อาการนอนไม่หลับเป็นอาการที่พบได้บ่อย และมีการรักษาหลากหลายแบบที่ช่วยให้ผู้ป่วยจำนวนมากสามารถนอนหลับได้ยามค่ำคืน
  • ภาวะวิตกกังวลหรือซึมเศร้า: ภาวะวิตกกังวลและซึมเศร้าเป็นอาการอื่น ๆ ที่ผู้ป่วยบางส่วนพบเจอ อาการเช่นนี้อาจเป็นอันตรายได้ ทางที่ดีจึงเป็นการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญให้เร็วที่สุดหลังจากที่คุณสังเกตพบอาการ

สรุป

โดยรวมแล้ว IVF คือกระบวนการที่ค่อนข้างตรงไปตรงมา แต่นั่นไม่ได้หมายความว่าจะไม่ก่อให้เกิดความเครียด อย่างไรก็ตาม IVF เป็นกระบวนการที่ปลอดภัยมากหากคุณพบผู้เชี่ยวชาญ และคุณสามารถพยายามได้หลายครั้งเท่าที่ต้องการ

หากคุณมีคำถามเกี่ยวกับ IVF สามารถติดต่อทีมของเราได้ที่ Bangkok Central Clinic IVF & Wellness เราคือคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากชั้นนำแห่งประเทศไทยที่มีเกียรติประวัติผลงานในการรักษาผู้ป่วย

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE