HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้

05 มิ.ย. 2024

หนึ่งในสิ่งที่ดีที่สุดที่คุณสามารถทำเพื่อตัวเองและลูกน้อยในครรภ์คือการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การได้รับสารอาหารเพียงพอจะช่วยเพิ่มพลังงานให้คุณตลอดช่วงเก้าเดือน อีกทั้งยังส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของลูกน้อยในครรภ์ ทั้งนี้ เพื่อให้คุณแม่มือใหม่ได้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการที่ดีสำหรับการตั้งครรภ์ คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราที่กรุงเทพฯ ยินดีที่จะให้คำแนะนำเพื่อให้คุณได้บำรุงร่างกายของตนเองและลูกน้อยอย่างเหมาะสม ซึ่งจากประสบการณ์อันยาวนานของเรา ในบทความนี้ เราจะมาแนะนำ 5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่สำคัญสำหรับคุณแม่มือใหม่ 

1. สารอาหารที่เหมาะสมสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์มีอะไรบ้าง?

คุณจำเป็นต้องได้รับวิตามิน แร่ธาตุ โปรตีน และแคลอรี่มากขึ้นในช่วงที่ตั้งครรภ์ เพื่อบริโภคให้ได้ตามความต้องการที่เพิ่มขึ้นนี้ ให้เน้นรับประทานอาหารที่มีสารอาหารสูง เช่น

  • ผลไม้และผัก (เน้นรับประทานหลากหลายสีสัน)
  • ธัญพืชไม่ขัดสี เช่น ข้าวโอ๊ต ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีท
  • โปรตีนไขมันต่ำ เช่น ไก่ ไก่งวง ปลา ไข่ ถั่ว และถั่วเลนทิล
  • ผลิตภัณฑ์นมพร่องมันเนยหรือไขมัน เช่น นม โยเกิร์ต ชีส
  • ไขมันดีที่พบในถั่ว เมล็ดต่าง ๆ อโวคาโด และน้ำมันมะกอก

ที่มา: Center for Women’s Health website

 

นอกจากอาหารที่อุดมไปด้วยสารอาหารแล้ว คุณยังควรรับประทานวิตามินบำรุงครรภ์ที่ประกอบด้วยกรดโฟลิก ธาตุเหล็ก แคลเซียม และวิตามิน D ซึ่งจะช่วยเติมเต็มสารอาหารที่ขาดหายไป

แพทย์ส่วนใหญ่จะแนะนำให้เพิ่มแคลอรี่อีก 300 แคลอรี่ต่อวันตั้งแต่ช่วงไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์เพื่อช่วยให้ลูกน้อยเจริญเติบโต แต่แคลอรี่เหล่านี้ควรมาจากอาหารที่มีประโยชน์และอุดมไปด้วยสารอาหาร ไม่ใช่อาหารขยะหรือเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลเป็นส่วนผสม

2. คำแนะนำสำหรับไตรมาสแรกมีอะไรบ้าง?

ความต้องการแคลอรี่ในช่วงไตรมาสแรกมีปริมาณใกล้เคียงกับช่วงก่อนการตั้งครรภ์ แต่หลังจากตั้งครรภ์แล้ว ความต้องการสารอาหารจะเพิ่มขึ้นในทันที สำหรับช่วงสัปดาห์แรก ๆ ของการตั้งครรภ์ การได้รับกรดโฟลิกจากแหล่งอาหารอย่างเพียงพอเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการป้องกันไม่ให้เกิดความบกพร่องของท่อประสาท เช่น ภาวะกระดูกสันหลังไม่ปิดในเด็กแรกเกิด (Spina Bifida)

การรับประทานอาหารเสริมที่มีกรดโฟลิกอย่างน้อย 400 mcg ร่วมกับอาหารที่มีโฟเลตสูงจะทำให้คุณได้รับกรดโฟลิกตามปริมาณที่แนะนำซึ่งอยู่ที่ 600-800 mcg ต่อวัน โดยอาหารที่มีโฟเลตสูงได้แก่

  • ผักใบเขียว
  • ผลไม้รสเปรี้ยว
  • ถั่วและถั่วเลนทิล
  • ซีเรียลที่ผสมโฟเลต

นอกจากนี้ การได้รับสารอาหารที่สำคัญอื่น ๆ เช่น ธาตุเหล็ก แคลเซียม โปรตีน และโอเมก้า 3 ในปริมาณที่เพียงพอก็มีความสำคัญอย่างยิ่งในช่วงแรกของการเติบโตของทารกในครรภ์

ที่มา: Australian Government website

 

3. สารอาหารที่ดีที่สุดสำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่คืออะไรบ้าง?

เมื่อเปรียบเทียบระหว่างผู้หญิงที่ไม่ได้ตั้งครรภ์กับผู้หญิงที่กำลังให้นมบุตร ผู้หญิงที่กำลังให้นมบุตรจะต้องการสารอาหารมากกว่า โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะต้องรับประทานอาหารเพิ่มประมาณ 330-400 แคลอรี่ต่อวันเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงก่อนตั้งครรภ์เพื่อให้มีพลังงานและน้ำนมที่จะให้บุตร เนื่องจากการผลิตน้ำนมใช้พลังงานประมาณ 500 แคลอรี่ต่อวัน

นอกจากสารอาหารที่กล่าวไปข้างต้น ในช่วงหลังคลอด คุณแม่ควรเน้นรับประทานสารอาหารต่อไปนี้ด้วยเช่นกัน

โปรตีน

โปรตีนไขมันต่ำช่วยสร้างกรดอะมิโนที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของน้ำนมแม่ คุณแม่ควรรับประทานให้ได้ 25-35 กรัมต่อมื้อและเสริมด้วยอาหารว่างที่มีโปรตีน

แคลเซียมและวิตามิน D

แคลเซียมและวิตามิน D ทำงานร่วมกันเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงให้กระดูกของคุณในช่วงให้นมบุตร รวมทั้งส่งต่อแร่ธาตุที่จำเป็นไปสู่ลูกน้อย แหล่งอาหารที่มีแคลเซียมและวิตามิน D สูงได้แก่ ผลิตภัณฑ์นมพร่องมันเนย ปลากระป๋อง ผักใบเขียว และน้ำผลไม้/นมที่เสริมด้วยแคลเซียมและวิตามิน D

โอเมก้า 3 

โอเมก้า 3 คือกรดไขมันที่ดีต่อสุขภาพ พบในปลา ถั่ววอลนัท เมล็ดแฟลกซ์ และไข่ เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการทางสมองของลูกน้อย คุณแม่ควรรับประทานอาหารที่มีโอเมก้า 3 ประมาณ 1-2 มื้อต่อวัน

น้ำ

การดื่มน้ำ นม และเครื่องดื่มอื่น ๆ อย่างเพียงพอจะช่วยให้ร่างกายของคุณแม่ไม่ขาดน้ำ และส่งเสริมการผลิตน้ำนม

ที่มา: Nutrisense website

 

4. คุณแม่ตั้งครรภ์สามารถทำอะไรได้บ้างเพื่อให้ลูกที่คลอดออกมามีสุขภาพดี?

นอกเหนือจากการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์แล้ว เคล็ดลับเหล่านี้จะช่วยให้ลูกน้อยที่คลอดออกมามีสุขภาพที่ดี

รับประทานวิตามินบำรุงครรภ์

แม้จะรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ แต่การพึ่งพาเพียงอาหารเพียงอย่างเดียวเพื่อให้ได้รับสารอาหารตามปริมาณที่ต้องการนั้นเป็นเรื่องยาก ดังนั้นคุณแม่จึงจำเป็นต้องรับประทานวิตามินบำรุงครรภ์เพิ่มเติมเพื่อชดเชยส่วนที่ขาดหายไป

ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

พยายามออกกำลังกายเบา ๆ อย่างน้อยวันละ 30 นาทีเพื่อให้ร่างกายมีพลังงาน ลดอาการท้องผูก เตรียมร่างกายให้พร้อมสำหรับการคลอด และเสริมสร้างความแข็งแรงของสุขภาพโดยรวม

เพิ่มน้ำหนักอย่างค่อยเป็นค่อยไป

ปรึกษาสูตินรีแพทย์เพื่อให้ทราบน้ำหนักที่เหมาะสมในช่วงตั้งครรภ์ ซึ่งขึ้นอยู่กับดัชนีมวลกาย (BMI) เริ่มต้นของคุณแม่ โดยทั่วไป สตรีมีครรภ์ที่มีน้ำหนักปกติควรมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นประมาณ 11-16 กิโลกรัม 

ได้รับกรดโฟลิกอย่างเพียงพอ

วิตามินบีชนิดนี้มีความสำคัญต่อการสร้างระบบประสาทของทารกในครรภ์ โดยเฉพาะในไตรมาสแรกก่อนที่ผู้หญิงส่วนใหญ่จะรู้ตัวว่าตั้งครรภ์ ซึ่งปริมาณที่แนะนำคือ 400-800 mcg ต่อวัน

เพิ่มธาตุเหล็ก

ปริมาณเลือดในร่างกายของคุณแม่จะเพิ่มขึ้นอย่างมากในระหว่างตั้งครรภ์ ส่งผลให้ความต้องการธาตุเหล็กเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า คุณแม่ควรรับประทานอาหารที่อุดมไปด้วยธาตุเหล็กหรือรับประทานอาหารเสริมเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง

ดื่มน้ำให้เพียงพอ

การดื่มน้ำ นม และน้ำผลไม้อย่างเพียงพอจะช่วยให้ปริมาณเลือดของคุณแม่ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ ป้องกันอาหารท้องผูก ลดอาการบวม และเตรียมร่างกายสำหรับการผลิตน้ำนมหลังคลอด

5. รับประทานอาหารที่ปลอดภัย

หลีกเลี่ยงอาหารที่อาจปนเปื้อนแบคทีเรีย ไวรัส หรือปรสิตซึ่งเป็นอันตรายต่อลูกน้อยในครรภ์ ซึ่งอาหารที่ควรหลีกเลี่ยงได้แก่

  • เนื้อสัตว์ ปลา และไข่ที่ดิบหรือสุกไม่เพียงพอ รวมทั้งผลิตภัณฑ์นม/น้ำผลไม้ที่ได้ผ่านการพาสเจอร์ไรส์ 
  • เนื้อสัตว์แปรรูป เช่น แฮมหรือฮอทดอก
  • ปลาบางชนิดที่มีปรอทสูง เช่น ปลากระโทงดาบ ปลาไทล์ฟิช 
  • ชีสนุ่ม ยกเว้นชีสที่ผ่านการพาสเจอร์ไรส์
  • ถั่วงอกดิบ
  • ผักผลไม้ที่ไม่ได้ล้าง

นอกจากนี้ ควรปรุงอาหารอย่างระมัดระวัง เช่น ปรุงอาหารให้สุกทั่วถึงและแยกภาชนะเพื่อป้องกันการปนเปื้อน

ที่มา: Food Safety government website

การส่งเสริมให้คุณแม่มือใหม่มีสุขภาพแข็งแรง

การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และอุดมไปด้วยสารอาหารที่ช่วยบำรุงสุขภาพของคุณแม่และลูกน้อยในครรภ์คือหัวใจสำคัญของการตั้งครรภ์ที่ดีและปลอดภัย ทีมผู้เชี่ยวชาญของเราที่ Bangkok Central Clinic ยินดีให้คำแนะนำด้านโภชนาการอย่างละเอียดเพื่อให้คุณมีความรู้ในการปรับอาหารการกินให้เหมาะสม หากคุณกำลังวางแผนที่จะมีบุตร ติดต่อเราได้เลยวันนี้เพื่อนัดปรึกษาและให้เราช่วยเหลือคุณตลอดทุกไตรมาสของการตั้งครรภ์ 

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE