HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?

24 มิ.ย. 2022

มีคู่สมรสหลายคู่เลือกจะไม่มีลูกจนกว่าจะประสบความสำเร็จในหน้าที่การงานหรือมีอิสระทางการเงินอย่างแน่นอนเสียก่อน ซึ่งในที่นี้ก็หมายความว่ามีหลายคู่ที่กว่าจะพร้อมมีลูกได้ก็เมื่อตอนอายุ 30 ถึง 40 ปีไปแล้ว อย่างไรก็ตามสำหรับผู้หญิงโดยเฉพาะนั้น การยืดเวลาตั้งครรภ์ออกไปอาจมีปัญหาได้เนื่องจากโอกาสการตั้งครรภ์นั้นมักจะเสื่อมถอยลงเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น

ทำไมอายุถึงสำคัญ

ที่จริงแล้วภาวะเจริญพันธุ์ของผู้ชายก็มีความสำคัญเช่นกัน แต่ความสำเร็จในการตั้งครรภ์เด็กนั้นก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของไข่ที่ผู้หญิงสามารถผลิตได้ เมื่อผู้หญิงอายุมากขึ้น ปริมาณและคุณภาพของไข่ที่พวกเขาสามารถผลิตได้ก็จะลดลง และการลดลงที่มากที่สุดเกิดขึ้นหลังจากอายุ 40 ปีเป็นต้นไป ดังนั้นสาเหตุที่คลินิกหลายแห่งที่รับรักษาภาวะเจริญพันธุ์ จะใช้วิธีป้องกันไม่ให้คนไข้หญิงนั้นใช้ไข่ของตัวเองในการตั้งครรภ์ในช่วงอายุ 42-45 ปี แต่ก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆที่ตั้งไว้ ซึ่งคนไข้อาจจะเลือกใช้ไข่จากหญิงที่มีอายุน้อยกว่าได้ 

ผู้หญิงที่มีอายุมากกว่ามีแนวโน้มที่จะมีไข่ที่มีความผิดปกติจากโครโมโซม เมื่ออายุ 40 ปีไข่ประมาณ 60% อาจมีโครโมโซมผิดปกติ ความผิดปกติเหล่านี้สามารถเพิ่มความเสี่ยงของการตั้งครรภ์ การแท้งบุตร หรือการตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติของโครโมโซม เช่น อาการของดาวน์ซินโดรม แต่ก็ยังโชคดีที่ยังมีการตรวจคัดกรองก่อนการฝังตัวอ่อน เพื่อสามารถระบุตัวอ่อนที่มีสุขภาพที่ดีที่สุดและคัดแยกตัวอ่อนที่มีความผิดปกติออกไป

เมื่อภาวะเจริญพันธุ์ในผู้หญิงลดลงไป และมีแพลนจะตั้งครรภ์นั้น แนะนำให้ไปพบแพทย์ทันที สำหรับผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 40 ปี แนะนำให้ลองพยายามมีลูกด้วยวิธีธรรมชาติโดยไม่ต้องป้องกันก่อน ผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไปนั้น ควรปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญด้านการเจริญพันธุ์ทันทีเมื่อได้ตัดสินใจที่จะมีลูกเพื่อเตรียมตัวและทำความเข้าใจในทางเลือกที่จะได้รับ

เมื่ออายุที่มากกว่า 40 ปีขึ้นไป จำนวนของไข่ก็จะลดลงตามไปด้วย ซึ่งตัวอ่อนที่มีคุณภาพจำนวนน้อยลงนี้ สามารถถูกสร้างขึ้นได้ผ่านการปฏิสนธินอกร่างกาย หรือที่เรียกกันสั้นๆว่าการทำ IVF หรือการทำเด็กหลอดแก้ว ซึ่งการทำแบบนี้เท่ากับเป็นตัวช่วยเพิ่มอัตราความสำเร็จของการตั้งครรภ์ให้เทียบเท่ากับผู้ที่มีอายุน้อยกว่า ผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไปนั้น มีโอกาสที่จะประสบความสำเร็จในการรักษาด้วยการทำเด็กหลอดแก้วถึง 20% และอัตรานี้จะลดน้อยลงเมื่ออายุที่เพิ่มมากขึ้น 

ความสำเร็จจากการทำทรีทเมนท์ IVF

จากความกังวลที่ระบุไว้ข้างต้น ฟังดูอาจเป็นเรื่องยากสำหรับผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 40 ปีที่เข้ารับการรักษาด้วยทรีทเมนท์ IVF หรือการทำเด็กหลอดแก้วด้วยไข่ของตัวเอง บางคลินิกหลายแห่งจะมีกำหนดข้อจำกัดของอายุ ซึ่งข้อจำกัดอายุนี้จะสามารถอยู่ระหว่าง 42-45 ปี

ซึ่งหมายความว่าการเข้ารับการทำเด็กหลอดแก้วด้วยไข่ของตัวเองสามารถทำได้แม้มีอายุที่มาก อย่างไรก็ตามถ้าหากคุณล้มเหลวในการตั้งครรภ์หลายครั้งก่อนหน้านี้ที่เกิดจากตัวอ่อนไม่แข็งแรงหรือไม่มีไข่ที่มีคุณภาพเพียงพอที่คลีนิกกำหนด ซึ่งจะขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแพทย์เป็นหลักของแต่ละที่ทั่วโลก ก็อาจสามารถรับการรักษาด้วยการทำเด็กหลอดแก้วได้ หรือหากมีอายุเกิน 50 ปีแล้วขึ้นไป

ดังนั้นการมีอายุ 40 ปีจึงยังไม่สายเกินไปที่จะลองทำเด็กหลอดแก้ว อาจจะมีจำนวนไข่เพียงพอที่สามารถใช้ในการสร้างตัวอ่อนที่แข็งแรงเพื่อตั้งครรภ์ได้เอง และถ้าหากมีความตั้งใจอยากมีลูกเพิ่มก็สามารถเก็บตัวอ่อนที่สุขภาพดีนั้นแช่แข็งได้ เพื่อนำมาฝังไข่ภายหลังได้

เคล็ดลับในการเพิ่มโอกาสเพื่อประสบความสำเร็จในการทำเด็กหลอดแก้ว

1. รักษาน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์สุขภาพดี

ภาวะเจริญพันธุ์และโอกาสประสบความสำเร็จในการรักษาด้วยการทำเด็กหลอดแก้วอาจเกิดผลดีขึ้นอย่างมาก เพียงแค่ลดน้ำหนักส่วนเกินออกไป เป็นเพราะน้ำหนักที่หนักมากไปอาจทำให้เป็นการยากต่อการตรวจสอบรังไข่เพื่อจะระบุเวลาที่ดีที่สุดสำหรับการเก็บไข่และอาจทำให้ขั้นตอนซับซ้อนขึ้น ควรปรึกษากับแพทย์หรือนักโภชนาการเพื่อปรับเปลี่ยนอาหารและโปรแกรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับตัวเองก็สามารถช่วยได้มาก 

2. ลดความเครียด

อัตราการปฏิสนธิอาจได้รับผลกระทบจากความเครียด เริ่มตั้งแต่ระยะกระตุ้นรังไข่ระดับความเครียดก็สามารถส่งผลต่อการตั้งครรภ์ได้ ลองพยายามหากิจกรรมหรือเทคนิกการผ่อนคลายที่สามารถช่วยลดความเครียดได้ ถึงแม้ว่ากระบวนการนี้จะแฝงด้วยความเครียดมากแค่ไหนก็ตาม แต่ก็ควรหันมาลองการออกกำลังกาย การนวด การฝังเข็ม การฝึกหายใจ วันหยุดพักผ่อน หรือโปรแกรมการฝึกจิตใจและร่างกาย เป็นต้น ลองค้นหาวิธีที่เหมาะสมกับตัวเองที่ช่วยบรรเทาความตึงเครียดให้ลดลงได้

3. เลิกบุหรี่และแอลกอฮอล์

การสูบบุหรี่มีผลกระทบทางลบต่อสุขภาพร่างกายซึ่งอาจส่งผลต่ออัตราความสำเร็จของเด็กหลอดแก้ว ซึ่งสามารถส่งผลกระทบต่อคุณภาพของไข่และสเปิร์ม และการดื่มแอลกอฮอล์ก็ยังส่งผลลบต่อโอกาสในการปฏิสนธิและการเกิด อาจส่งผลกระทบต่ออัตราการเจริญพันธุ์ หากตัดนิสัยทั้งสองออกและรักษาสุขภาพให้ดีอย่างสม่ำเสมอเพื่อเพิ่มโอกาสในการประสบความสำเร็จได้

4. พบผู้เชี่ยวชาญด้านการเจริญพันธุ์ที่ดี

รับฟังคำปรึกษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ หรือครอบครัวและเพื่อนที่เคยได้รับการรักษาดังกล่าวเพื่อหาผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะเจริญพันธุ์ที่จะเข้ารักษาด้วย อาจจะต้องเป็นคนที่รู้สึกสบายใจและแนะนำทิศทางการรักษาได้ รวมไปถึงการพิจารณาจากอัตราความสำเร็จและตรวจสอบให้แน่ใจว่าแพทย์คนนั้นได้รับใบอนุญาตอย่างถูกต้องและมีอุปกรณ์เครื่องมือที่ครบครันทันสมัย 

5. เพิ่มคุณภาพของสเปิร์ม

หากไม่ได้ใช้สเปิร์มจากผู้บริจาค คู่สมรสฝ่ายชายก็มีบทบาทในการพัฒนาคุณภาพของสเปิร์มได้เช่นกัน เช่นเดียวกับทางฝ่ายหญิง ควรควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม กรณีที่อยู่ในช่วงประเมินคุณภาพของตัวอสุจิซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากังวลสำหรับผู้เชี่ยวชาญ อาจจะแนะนำให้รับประทานยาและอาหารเสริมเข้ามาช่วยเพื่อเพิ่มคุณภาพและปริมาณอสุจินี้

6. ความอดทน

ก่อนที่จะเข้ารับการรักษาเด็กหลอดแก้วนั้น อาจจะเริ่มจากการทำให้สุขภาพดีอย่างสม่ำเสมอ ยิ่งร่างกายแข็งแรงมีสุขภาพดีมากเท่าไร ทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง ก็จะยิ่งช่วยเพิ่มโอกาสความสำเร็จในการตั้งครรภ์มากยิ่งขึ้นเท่านั้น ซึ่งโดยปกติทั่วไปแล้ว ไม่ใช่เรื่องแปลงที่คู่สมรสที่มีสุขภาพที่แข็งแรง แต่มีความจำเป็นต้องเข้ารับการรักษา IVF มากกว่า 1 ครั้ง โดยเฉพาะเมื่อได้ทำทุกอย่างถูกต้องและทำตามคำแนะนำของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเป็นอย่างดีแล้ว เพราะการรักษาด้วยวิธีนี้ ความอดทนไม่ท้อแท้เป็นสิ่งสำคัญที่สุด

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE