HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์

02 เม.ย. 2024

การพยายามตั้งครรภ์อีกรอบหลังจากแท้งบุตรอาจทำให้คุณเกิดความสับสนและเต็มไปด้วยข้อสงสัยมากมายซึ่งมันอาจมีผลกระทบต่อด้านอารมณ์และข้อพิจารณาทางด้านการแพทย์ของคุณได้ วันนี้ศูนย์รักษาผู้มีบุตรยากอย่าง Bangkok Central Clinic เราจะอธิบายเรื่องการพิจารณาทั้งด้านอารมณ์และทางด้านการแพทย์สำหรับผู้ที่ต้องการตั้งครรภ์อีกครั้งหลังจากมีการแท้งบุตรมาก่อน รวมไปถึงหาทางออกที่เป็นไปได้มากที่สุดสำหรับคุณ

เผชิญกับความเครียดให้ได้

สภาวะทางอารมณ์หลังจากแท้งบุตรอาจมีผลกระทบเป็นอย่างมากต่อตัวบุคคลในรูปแบบต่างๆ จำเป็นอย่างยิ่งที่คุณจะต้องรับรู้และจัดการกับอารมณ์เหล่านี้เมื่อคุณต้องการตั้งครรภ์อีกครั้ง ความรู้สึกเศร้าโศก วิตกกังวล และกลัว ถือเป็นเรื่องปกติที่สามารถเกิดขึ้นได้ คุณและคู่รักต้องคอยให้กำลังใจกันและคอยหาที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญที่คอยช่วยเหลือคุณได้ การที่จะต่อสู้กับความเครียดให้ได้นั้น คือตัวคุณเอง ซึ่งถือเป็นตัวแปรสำคัญในการเข้ารับการรักษาภาวะมีบุตรยาก

ยกตัวอย่างเช่น มีงานวิจัยชิ้นหนึ่งกล่าวว่าความพร้อมทางอารมณ์อาจแตกต่างกันไปในแต่ละคู่รักและควรพิจารณาเป็นรายบุคคลไป

ข้อควรพิจารณาทางด้านการแพทย์

เมื่อเราโฟกัสไปที่มุมมองด้านสุขภาพ คนที่ต้องการตั้งครรภ์อีกครั้งหลังจากแท้งอาจต้องพิจารณาในปัจจัยที่เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น ในกรณีที่มีการแท้งบุตรติดต่อกันสองครั้งขึ้นไป ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพอาจมีการเสนอให้คุณทำการตรวจสอบเพื่อหาสาเหตุที่เป็นไปได้ก่อนที่จะลองมีลูกครั้งใหม่ การตรวจนี้อาจรวมถึงการตรวจเลือดเพื่อระบุว่าระดับฮอร์โมนมีความผิดปกติหรือมีปัญหาเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันที่อาจนำไปสู่การแท้งบุตรอีกครั้งหรือไม่

การขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านการแพทย์ถือเป็นสิ่งสำคัญในการประเมินปัจจัยเบื้องต้นที่อาจนำไปสู่การแท้งบุตรและเพื่อพัฒนาแผนการรักษาภาวะเจริญพันธุ์ของตัวคุณเอง เช่น การทดสอบภาวะเจริญพันธุ์ การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ หรือการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ให้เหมาะสมในแต่ละคน คุณควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับบริการต่างๆ ที่คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราได้

มาทำความเข้าใจสาเหตุของการแท้งบุตร

การแท้งบุตรสามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น ปัญหาทางพันธุกรรมหรือความไม่สมดุลของฮอร์โมน การค้นหาสาเหตุที่เกิดขึ้นสามารถเป็นแนวทางในการพัฒนาแผนการรักษาของคุณได้ ยกตัวอย่างเช่น หากมีปัญหาทางพันธุกรรม คุณอาจพิจารณาการทดสอบทางพันธุกรรมก่อนที่จะมีลูก

การปรึกษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะเจริญพันธุ์เป็นสิ่งสำคัญในการตรวจสอบว่ามีปัญหาเบื้องต้นที่อาจทำให้เกิดการแท้งบุตรหรือไม่ ผู้เชี่ยวชาญสามารถช่วยสร้างแผนการรักษาที่เหมาะกับแต่ละคนเพื่อรักษาภาวะเจริญพันธุ์ ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการรักษา เช่น การทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) หรือการทำอิ๊กซี่ (ICSI) รวมไปถึงการปรับเปลี่ยนวิถีการใช้ชีวิตของคุณด้วย

การใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์

สำหรับคนที่พยายามเอาชนะความท้าทายในเรื่องการเจริญพันธุ์หลังจากการแท้งบุตรนั้น เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ (ART) อย่างเช่น การทำเด็กหลอดแก้ว การทำอิ๊กซี่ และการย้ายตัวอ่อน อาจช่วยแก้ไขปัญหาการเจริญพันธุ์ต่างๆ ได้ การปรึกษาและขอคำแนะนำเกี่ยวกับความเสี่ยงและผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้นกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะเจริญพันธุ์เป็นสิ่งสำคัญที่เหมาะสมที่สุดในการหาแนวทางแก้ไข

ปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ในการดำเนินชีวิตของคุณ

นอกเหนือจากวิธีแก้ปัญหาทางด้านการแพทย์แล้ว การปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตสามารถช่วยเพิ่มผลลัพธ์ในการตั้งครรภ์ได้ ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และการจัดการความเครียดที่อาจส่งผลต่อการเจริญพันธุ์ได้ การให้ความร่วมมือกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตให้ดีขึ้นเป็นสิ่งสำคัญอย่างมากซึ่งมีประโยชน์เป็นอย่างมากทั้งทางอารมณ์และทางด้านการแพทย์

ความไม่ย่อท้อเมื่อมีการแท้งบุตร

เส้นทางสู่การเป็นพ่อแม่โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากที่มีการแท้งมาก่อน หมายถึงการใช้แนวทางที่ครอบคลุมการรักษาทั้งในด้านอารมณ์และสุขภาพ การเข้าใจและตระหนักถึงปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจะช่วยให้คุณเข้าใจสถานการณ์ได้ดีขึ้น และทำให้คุณอยู่ในสภาวะที่แข็งแกร่งขึ้นเพื่อเอาชนะอุปสรรค คุณต้องตระหนักไว้เสมอว่าคุณไม่ได้อยู่เพียงลำพังและการปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพและคนใกล้ชิดของคุณสามารถช่วยทำให้คุณเดินทางบนเส้นทางนี้ได้อย่างปลอดภัย

การตั้งครรภ์ด้วยวิธีธรรมชาติหลังจากการแท้งดูเหมือนว่าจะเป็นสิ่งที่ท้าทายอย่างมากและการรักษาแบบดั้งเดิมยังไม่สามารถช่วยได้มากพอ อาจถึงเวลาที่คุณต้องพิจารณาในการรักษาด้วยยาต้านไวรัส คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราให้ความช่วยเหลือและให้คำแนะนำสำหรับคู่รักที่ประสบปัญหาในการตั้งครรภ์หลังจากแท้งบุตร

ทีมผู้เชี่ยวชาญที่มีศักยภาพของเราจะช่วยกำหนดวิธีการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมที่สุดสำหรับคุณ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาแบบการทำเด็กหลอดแก้ว IVF หรือการฉีดอสุจิเข้าสู่โพรงมดลูก (IUI) หรือการใช้ไข่และอสุจิจากผู้บริจาค เรามุ่งมั่นที่จะช่วยให้คุณสร้างครอบครัวที่สมบูรณ์แบบและสัมผัสกับความสุขของการเป็นพ่อแม่ได้อย่างแน่นอน

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE