HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง

08 ธ.ค. 2023

การมีอีกหนึ่งชีวิตอยู่กับคุณบนโลกใบนี้ถือว่าเป็นช่วงเวลาอันมีค่าอย่างยิ่ง ความหวังของใครหลาย ๆ คน คือการสร้างครอบครัวที่เต็มไปด้วยความสุข อย่างไรก็ตาม สำหรับครอบครัวหลาย ๆ ครอบครัวนั้น การตั้งครรภ์ครั้งที่สองไม่ได้ง่ายอย่างที่คาดไว้ ในทบความนี้ เราจะมาทำความเข้าใจความซับซ้อนของภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิและให้ความกระจ่างเกี่ยวกับอุปสรรคที่คุณต้องเจอ รวมถึงวิธีช่วยเหลือจากคลินิครักษาผู้มีบุตรยากของเรา

ทำเข้าใจเกี่ยวกับภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ คือภาวะมีบุตรยากในคู่ที่ไม่สามารถอุ้มท้องให้ครบกำหนดได้หลังจากที่เคยตั้งครรภ์มาก่อนซึ่งไม่ได้เป็นภาวะที่เกิดขึ้นได้ง่าย ๆ แต่ส่วนใหญ่แล้ว ผู้ที่คลอดลูกได้สำเร็จในครั้งแรกจะมีแนวโน้มในการตั้งครรภ์ครั้งที่สองได้โดยง่าย ดังนั้นเรามาดู 6 สาเหตุที่อาจขัดขวางโอกาสในการมีลูกครั้งที่สองและมาดูว่าเมื่อไหร่ที่เราควรพิจารณาขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ

อายุมีผลต่อภาวะการเจริญพันธุ์จริงหรือไม่

ผลกระทบในช่วงวัย 30 กลาง ๆ

อายุส่งผลกระทบสำคัญต่อภาวะเจริญพันธุ์ โดยเฉพาะสำหรับผู้หญิง ผู้หญิงที่มีช่วงอายุ 30 กลาง ๆ ถึง 30 ปลาย ๆ ขึ้นไป มีโอกาสสูงที่จะประสบภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ เนื่องจากปริมาณและคุณภาพของไข่ลดลงตามธรรมชาติ จำเป็นอย่างยิ่งที่เราจะต้องตระหนักถึงความเป็นจริงโดยมองว่าความอดทนเป็นสิ่งเดียวที่จะช่วยให้คุณผ่านพ้นอุปสรรค์ในครั้งนี้ได้

ปัจจัยของการมีบุตรยากในคู่สมรสฝ่ายชาย

คุณภาพของอสุจิมีความสำคัญอย่างยิ่ง

เพศชายก็มีบทบาทสำคัญในการตั้งครรภ์เช่นเดียวกัน น่าแปลกใจที่ปัจจัยต่าง ๆ เช่น การเสริมฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน การสัมผัสความร้อน และวิธีการใช้ชีวิต ล้วนส่งผลต่อจำนวนอสุจิได้ทั้งสิ้น สิ่งที่สำคัญคือคุณผู้ชายต้องคงรักษาสภาวะที่เหมาะสมเพื่อการผลิตอสุจิให้มีประสิทธิภาพโดยให้คำนึงอยู่เสมอว่า การมีสุขภาพที่ดีเป็นตัวแปรสำคัญในการก้าวเข้าสู้เส้นทางการเป็นคุณพ่อ

ความไม่สมดุลของฮอร์โมนและภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ

PCOS สามารถทำให้เกิดภาวะมีบุตรยากทุติยภูมิได้หรือไม

โรคถุงน้ำรังไข่หลายใบ (PCOS) เป็นภาวะไม่สมดุลของฮอร์โมนที่พบบ่อย สามารถไปยับยั้งการตกไข่และทำให้เกิดภาวะมีบุตรยากทั้งในระดับปฐมภูมิและทุติยภูมิได้ หากคุณผู้หญิงที่ประจำเดือนมาไม่ปกติหรือไม่มีประจำเดือนเลย อาจส่งสัญญาณได้ว่าคุณกำลังประสบปัญหา PCOS อยู่โดยจำเป็นต้องปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อสำรวจแนวทางแก้ไขที่เป็นไปได้ต่อไป

น้ำหนักกับภาวะเจริญพันธุ์

การควบคุมน้ำหนักถือเป็นสิ่งสำคัญทั้งในเพศชายและหญิง เมื่อคุณคำนึงถึงการสร้างครอบครัว น้ำหนักที่มากเกินไปอาจส่งผลต่อภาวะดื้อต่ออินซูลิน ระดับเทสโทสเทอโรน และการตกไข่ในเพศหญิง ส่วนผู้ชายอาจส่งผลให้ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนสูงขึ้นและทำให้จำนวนอสุจิลดลง ดังนั้นการควบคุมน้ำหนักให้สมดุลกับร่างกายจึงเป็นข้อตกลงที่คุณต้องคำนึงร่วมกับเส้นทางสู่การสร้างครอบครัว

ไลฟ์สไตล์ในการใช้ชีวิตและผลกระทบที่มีต่อภาวะเจริญพันธุ์

บุหรี่และแอลกอฮอล์ส่งผลกระทบต่อภาวะการเจริญพันธุ์อย่างไร

การรู้จักความพอดีในการดื่มแอลกอฮอล์เป็นกุญแจสำคัญเนื่องจากหากดื่มมากเกินไปอาจไปลดโอกาสในการตั้งครรภ์ได้ การสูบบุหรี่เป็นสิ่งที่เรารู้จักกันดีว่าไม่ดีต่อสุขภาพ ก็ส่งผลเสียต่อภาวะการเจริญพันธุ์พอ ๆ กันกับการดื่มแอลกอฮอล์ซึ่งทำให้ไข่ของผู้หญิงและ DNA ของอสุจิในผู้ชายเกิดความเสียหายได้ วิธีที่ดีที่สุดคือการมีสติในการเลือกใช้ชีวิตเพื่อความสำเร็จในการตั้งครรภ์ของคุณในอนาคต

ความแตกต่างระหว่างภาวะมีบุตรยากปฐมภูมิกับทุติยภูมิ

การทำความเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างภาวะมีบุตรยากปฐมภูมิและทุติยภูมินั้นเป็นสิ่งที่สำคัญมากเพราะมันเกี่ยวข้องกับภาวะทางด้านอารมณ์ของแต่ละคน ภาวะมีบุตรยากขั้นปฐมภูมิเกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้นในช่วง 6-12 เดือนแรก ในขณะที่ภาวะมีบุตรยากขั้นทุติยภูมิเกิดขึ้นหลังจากประสบความสำเร็จในการตั้งครรภ์ครั้งก่อนหน้า แม้จะมีผลกระทบทางอารมณ์ที่แตกต่างกันแต่ภาวะทั้งสองประเภทมีสาเหตุในการเกิดที่คล้ายคลึงกัน ในการรักษาก็สามารถใช้วิธีที่เดียวกันในการรักษาได้

บทบาทของคู่สมรสในภาวะมีบุตรยาก

หนึ่งในสามของคู่รักที่มีปัญหาภาวะมีบุตรยากเกิดจากปัญหาของเพศหญิง อีกส่วนหนึ่งมาจากเพศชาย และส่วนที่เหลือมาจากปัญหาทั้งสองรวมกัน ดังนั้นความร่วมมือของคู่รักจึงเป็นจุดสมดุลที่จะสามารถเอาชนะปัญหาของภาวะมีบุตรยากนี้ได้

คุณภาพของไข่ ท่อรังไข่ และส่วนอื่น ๆ

ปัญหาของภาวะเจริญพันธุ์ของผู้หญิงมักมีสาเหตุมาจากคุณภาพและปริมาณไข่ที่ลดลงซึ่งเป็นสาเหตุที่พบบ่อยของคู่รักในภาวะมีบุตรยากทุติยภูมิ ปัญหาอื่น ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องบ้าง ได้แก่ ท่อรังไข่เสียหาย ภาวะแทรกซ้อนของมดลูก และภาวะต่าง ๆ เช่น ภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (endometriosis) และ PCOS และการทำความเข้าใจถึงสิ่งเหล่านี้จะช่วยให้คู่รักเข้าใจอย่างครอบคลุมเกี่ยวกับปัญหาในหลากหลายแง่มุมที่คู่รักอาจต้องเผชิญเอง

การผ่าคลอดจะทำให้เกิดภาวะมีบุตรยากทุติยภูมิหรือไม่

ผู้หญิงที่มีการผ่าท้องทำคลอดมาก่อนนั้น การตั้งครรภ์ในครั้งที่สองอาจเกิดขึ้นได้ยากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับผู้หญิงที่คลอดทางช่องคลอด เนื่องจากแผลเป็นจากการผ่าคลอดอาจทำให้เกิดการอักเสบได้ ทำให้การตั้งครรภ์นั้นยากขึ้นนั่นเอง ข้อมูลนี้ถือเป็นตัวช่วยให้คู่รักได้ตระหนักถึงผลลัพธ์ต่าง ๆ เมื่อต้องเข้ารับการผ่าคลอด

อายุมีผลต่อการเกิดโรคที่ผิดปกติทางพันธุกรรมอย่างไร

ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ คือภาวะความผิดปกติของโครโมโซม (aneuploidy) ซึ่งเป็นภาวะที่ตัวอ่อนมีจำนวนโครโมโซมที่ผิดปกติ ซึ่งมีความสัมพันธ์กันระหว่างอายุของเพศหญิงกับโอกาสในการผลิตโครโมโซมของตัวอ่อน โดยเน้นถึงความสำคัญของการรักษาภาวะเจริญพันธุ์ตามวัยเพื่อเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์ ภาวะผิดปกติของโครโมโซมเป็นโรคทางพันธุกรรมที่มีโครโมโซมผิดปกติซึ่งอาจส่งผลต่อการตั้งครรภ์ได้

การตรวจวินิจฉัยโรค: การหาความชัดเจนด้วยการตรวจภาวะเจริญพันธุ์

สำหรับคู่รักที่ประสบปัญหากับภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ การตรวจวินิจฉัยโรคถือเป็นขั้นตอนสำคัญในการค้นหาสาเหตุที่แท้จริง การตรวจเลือดเพื่อเช็คภาวะเจริญพันธุ์จะเป็นการตรวจผ่านการทดสอบทางพันธุกรรมซึ่งจะสามารถประเมินจำนวนไข่ที่ผลิตได้ โดยระบุข้อมูลเชิงลึกเพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนการรักษาเฉพาะบุคคลได้

แนวทางในการรับมือกับภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ

การยอมรับกับสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเพียงก้าวแรกและเป็นการมองโลกในแง่ดีเกี่ยวกับโอกาสในการที่จะประสบความสำเร็จในการตั้งครรภ์ได้ ภาวะมีบุตรยากทุติยภูมิสามารถรักษาได้อย่างแน่นอนโดยเรามีตัวเลือกในการรักษาต่าง ๆ ให้เลือกตามภาวะเจริญพันธุ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละบุคคล ตั้งแต่การฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก (IUI) ไปจนถึงการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) ซึ่งมีมาตรการหลายอย่างที่ออกแบบมาเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป

เวลาที่เหมาะสมในการปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญด้านการเจริญพันธ์

แม้ว่าความอดทนจะเป็นสิ่งที่ดีแต่เราก็ไม่ควรปล่อยให้เวลาหลุดลอยไปโดยที่เราไม่ทำอะไรเลย คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราจะคอยให้คำแนะนำตลอดระยะเวลาในการเข้ารับการรักษา การปฏิบัติตามขั้นตอนจากคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะเจริญพันธุ์จะช่วยทำให้เส้นทางการสร้างครอบครัวของคุณเต็มไปด้วยความหวังและประสบความสำเร็จได้

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE