HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก

03 มี.ค. 2023

การมีสุขภาพจิตที่ดีเป็นสิ่งสำคัญสำหรับชีวิตที่มีความสุขและสมบูรณ์ สุขภาพจิตที่ดีทำให้คุณสามารถสร้างและรักษาความสัมพันธ์ ทำงานและทำหน้าที่อื่น ๆ ได้เต็มประสิทธิภาพ อีกทั้งยังทำให้ชีวิตง่ายและสนุกยิ่งขึ้น นอกจากนี้สุขภาพจิตที่ดียังสำคัญต่อสุขภาพกายที่ดีด้วย ในบางกรณี สุขภาพจิตที่แย่ก็สามารถส่งผลเสียโดยตรงต่อชีวิตของคนไข้

แม้การดูแลและชุบชูสุขภาพจิตจะเป็นสิ่งที่เราควรทำเป็นประจำอยู่แล้ว แต่ก็มีบางช่วงเวลาที่การดูแลสุขภาพจิตมีความสำคัญเป็นพิเศษ หนึ่งในช่วงเวลาเหล่านั้นคือเมื่อคุณเข้ารับการรักษา

ความตื่นเต้นและความวิตก

การเข้ารับการรักษาภาวะมีบุตรยากและเริ่มสร้างครอบครัวใหม่ตามที่หวังไว้คือหนึ่งในเรื่องที่น่าตื่นเต้นที่สุดที่อาจเกิดขึ้นในชีวิตของใครก็ตาม อย่างไรก็ดี แม้จะมีหลายสิ่งให้ตั้งตารอคอย แต่กระบวนการรักษาก็อาจเป็นสิ่งที่น่ากังวลเช่นกัน การรักษาภาวะมีบุตรยากมีหลายประเด็นให้พิจารณา เช่น การรักษาจะสำเร็จหรือไม่ เด็กจะมีสุขภาพดีหรือไม่ ความกังวลดังกล่าวและความกังวลเรื่องอื่น ๆ อาจทำให้สุขภาพจิตของคนไข้แย่ลงได้

นอกเหนือจากความกังวลเกี่ยวกับการสร้างครอบครัว มารดาอาจมีระดับฮอร์โมนที่แปรปรวน ความแปรปรวนนี้อาจเกิดจากยาหรืออาจเกิดขึ้นโดยธรรมชาติเมื่อคนไข้เริ่มตั้งครรภ์ ความแปรปรวนเหล่านี้สามารถส่งผลต่ออารมณ์ของคนไข้ได้ แต่ไม่ได้หมายถึงสุขภาพจิตที่ย่ำแย่เสมอไป

ภาวะทางจิตใจที่พบบ่อย

คนไข้ส่วนใหญ่ไม่มีปัญหาด้านสุขภาพจิต แม้การรักษาและการตั้งครรภ์สามารถส่งผลต่ออารมณ์ของคุณได้ แต่เราทำงานโดยระลึกถึงความปลอดภัยของคุณอยู่เสมอ รวมถึงจัดการกับปัญหาสุขภาพจิตหากคุณมีปัญหาเหล่านั้น

คนไข้ที่ประสบปัญหาทางสุขภาพจิตมักมีภาวะเช่นซึมเศร้าและวิตกกังวล และปัญหาทางสุขภาพจิตอื่น ๆ ที่คนไข้กำลังพบเจอควรได้รับการดูแลอย่างจริงจังเพื่อตัวมารดาและทารก

เหตุใดสุขภาพจิตจึงสำคัญต่อการรักษาภาวะมีบุตรยาก

มีความเป็นไปได้ที่เด็กที่เกิดจากมารดาที่มีภาวะซึมเศร้าจะมีภาวะแทรกซ้อน เช่น น้ำหนักแรกเกิดต่ำ อีกทั้งสุขภาพจิตที่ย่ำแย่มักจะทำให้คนไข้ไม่ดูแลตนเองมากเท่าที่ควร และอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพโดยรวมของมารดาและทารก

การที่มารดามีสุขภาพจิตที่ดีหลังคลอดก็เป็นสิ่งสำคัญเช่นเดียวกัน เพราะการคลอดอาจเป็นเรื่องที่ยาก กดดัน และเหนื่อย ผู้หญิงหลายคนมีภาวะซึมเศร้าหลังคลอดซึ่งก่อให้เกิดอาการที่คล้ายกับภาวะซึมเศร้า โดยมักมีภาวะนี้ประมาณสองสัปดาห์

อย่างไรก็ตาม สิ่งสำคัญคือทารกได้รับการดูแลอย่างไม่ขาดตกบกพร่อง ซึ่งอาจเป็นเรื่องยากสำหรับคนที่กำลังมีความเจ็บป่วยทางจิตใจ

การตรวจสุขภาพจิตของคุณ

มีความเป็นไปได้ที่คุณจะมีความเจ็บป่วยทางจิตใจอยู่แล้ว และความเจ็บป่วยเหล่านั้นควรได้รับการรักษาก่อนเข้ารับการรักษาภาวะมีบุตรยาก พึงระลึกว่าการรักษาภาวะมีบุตรยากและการตั้งครรภ์อาจทำให้สุขภาพจิตของคุณแย่ลง อย่างไรก็ตาม ในแง่ดีคือสุขภาพจิตสามารถดีขึ้นได้ในหลายกรณีโดยมักอาศัยการเปลี่ยนแปลงไลฟ์สไตล์

  • พักผ่อนให้มาก: การพักผ่อนให้มากคือหนึ่งในวิธีที่มีประสิทธิภาพมากในการต่อสู้กับความเจ็บป่วยทางจิตใจ หนึ่งในปัจจัยหลักเกี่ยวกับการพักผ่อนคือปริมาณการนอนหลับของคุณ แต่การพักผ่อนที่แท้จริงไม่ได้หมายถึงการนอนหลับเพียงอย่างเดียว แต่ยังหมายถึงการใช้เวลาทำสิ่งต่าง ๆ ที่ชอบด้วย เช่น การใช้เวลากับเพื่อนและครอบครัว
  • รับประทานอาหารที่ดี: ร่างกายของเราอาศัยสารอาหารอันหลากหลายที่มาจากอาหาร และสิ่งสำคัญคือการที่เราได้รับสารอาหารที่หลากหลายเพื่อสุขภาวะที่ดีของร่างกาย การรับประทานอาหารที่ดีไม่เพียงแต่ส่งผลต่อสุขภาพกายเท่านั้น แต่ยังทำให้สุขภาพจิตดีขึ้นอีกด้วย คุณไม่จำเป็นต้องควบคุมอาหารอย่างเข้มงวดเสมอไป เพียงรับประทานอาหารสดใหม่แทนที่อาหารแปรรูปก็สามารถเห็นความแตกต่างได้แล้ว
  • ทำตัวให้กระฉับกระเฉง: การทำตัวให้กระฉับกระเฉงจะช่วยให้คุณมีสุขภาพร่างกายที่ดี และในหลายกรณีก็ช่วยให้สุขภาพจิตดีขึ้นด้วย คุณไม่จำเป็นต้องออกกำลังกายอย่างเคร่งครัดเสมอไป เพียงพาสุนัขเดินเล่นประมาณ 20 นาทีต่อวันก็สามารถเห็นความแตกต่างได้แล้ว หากคุณมีสุขภาพกายที่ดีอยู่แล้ว การปรึกษามืออาชีพเกี่ยวกับปริมาณการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับคุณก็เป็นความคิดที่ดีเช่นกัน 
  • ยา: ภาวะทางจิตบางอย่างต้องอาศัยยา โดยยาชนิดนั้นมักมีผลข้างเคียงที่ส่งผลต่ออารมณ์ของคนไข้ ยาบางอย่างอาจรบกวนการรักษาภาวะมีบุตรยากและอาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อทารก คุณจึงควรแจ้งบุคลากรทางการแพทย์เสมอเกี่ยวกับยาที่คุณใช้ก่อนจะเริ่มกระบวนการสร้างครอบครัว 

คู่รักของคุณ

การรักษาภาวะมีบุตรยาก การตั้งครรภ์ และการเลี้ยงดูเด็กทารกเป็นงานที่เครียดและยาก ดังนั้น มารดาส่วนใหญ่จึงต้องอาศัยการสนับสนุนจากคู่รักของตน การตรวจสอบให้มั่นใจว่าคู่รักมีสุขภาพจิตที่มั่นคงจึงเป็นเรื่องดีเช่นกัน มิเช่นนั้นคุณอาจรู้สึกเหนื่อยเมื่อคู่รักไม่สามารถช่วยเหลือคุณได้มากนัก 

พึงระลึกว่าในขณะที่มารดาต้องรับหน้าที่มากมาย การรักษาภาวะมีบุตรยากและการตั้งครรภ์ก็เป็นช่วงเวลาที่เครียดสำหรับบิดาเช่นเดียวกัน ยกตัวอย่าง พวกเขาอาจมีความกังวลเกี่ยวกับสุขภาพของคู่รักของตนและลูก เป็นต้น นอกจากนี้ทั้งสองคนก็อาจมีความกังวลเกี่ยวกับความมั่นคงทางการเงินของตนในอนาคต 

สรุป 

หลายปีที่ผ่านมามีความก้าวหน้าทางด้านสุขภาพจิตเกิดขึ้นมากมาย ปัญหาสุขภาพจิตไม่ใช่มลทินอีกต่อไป ในขณะเดียวกันการรักษาของเราก็มีประสิทธิภาพมากขึ้น อย่างไรก็ตาม สุขภาพจิตก็ยังมีโอกาสเป็นภาวะร้ายแรงที่ทำให้ชีวิตของคนไข้ตกอยู่ในความเสี่ยงได้ 

สุขภาพจิตมีความสำคัญเป็นพิเศษเมื่อเข้ารับการรักษาภาวะมีบุตรยาก ไม่เพียงแต่สำหรับการรักษาเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงระหว่างและหลังการตั้งครรภ์ด้วย ดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่ดีหากคุณและคู่รักเข้ารับการตรวจสุขภาพจิตก่อนตัดสินใจสร้างครอบครัว

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE