HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ

08 ธ.ค. 2023

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์เป็นตัวเลือกที่สามารถกำหนดทิศทางของชีวิตของคุณได้โดยสามารถเพิ่มโอกาสในการสร้างครอบครัวตามเงื่อนไขของคุณเองได้ ในบทความนี้ทางคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราจะมาแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับการรักษาภาวะการเจริญพันธุ์ พร้อมกับเหตุผลสำหรับคนที่สนใจการรักษานี้ และยังมีตัวเลือกที่เหมาะกับคุณผู้ชายและคุณผู้หญิงอีกด้วย

ทำไมคุณต้องตัดสินใจเข้ารับการรักษาภาวะเจริญพันธุ์

การรักษาภาวะเจริญพันธุ์ยังไม่ได้แพร่หลายมากนัก แรงจูงใจในการเข้ารับการรักษาภาวะเจริญพันธุ์จึงขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล โดยหลัก ๆ แล้ว ปัจจัยทางสังคมและสาเหตุทางการแพทย์เป็นปัจจัยหลักในการเข้ารับการรักษานี้

3 ปัจจัยทางสังคมสำหรับคนที่ต้องการเข้ารับการรักษาภาวะเจริญพันธุ์

ในยุคปัจจุบันนี้ เวลาไม่ได้เป็นตัวกำหนดว่าคุณจะต้องมีครอบครัวตอนไหน คนทุกคนล้วนมีเหตุผลของตนเอง และนี่คือปัจจัยทางสังคมที่มักพบบ่อย

  1. ยังไม่เจอคนที่เหมาะสม: ความรักมีตารางเวลาของมันเองและไม่ใช่ทุกคนที่จะพบคู่ชีวิตของตนแต่มีก็มีหลายคนที่เลือกรอจนกว่าจะพบกับคนที่เหมาะสม
  2. ความมั่นคงทางการเงินและความพร้อมทางอารมณ์: การเลี้ยงลูกเป็นความรับผิดชอบที่ยิ่งใหญ่มหาสารและหลาย ๆ คนอยากมีความมั่นคงทางด้านการเงินและมีความพร้อมทางด้านอารมณ์ก่อนที่จะก้าวเข้าสู้บทบาทคุณพ่อและคุณแม่
  3. การตามหาความสำเร็จในอาชีพ: การตามหาเป้าหมายในอาชีพและความสำเร็จเป็นเหตุผลอีกประการหนึ่งที่ทำให้บทบาทของการเป็นคุณพ่อคุณแม่นั้นช้าลง บางคนต้องการที่จะมีอาชีพที่มั่นคงก่อนที่จะเป็นคุณพ่อคุณแม่อย่างเต็มตัว 

สำหรับคนข้ามเพศ (transgender) และคนที่ไม่ระบุเพศ (non-binary) ที่มีคู่หรือโสดนั้นก็มีเงื่อนไขที่เฉพาะเจาะจงไป การทำฮอร์โมนบำบัดและการผ่าตัดแปลงเพศนั้นส่งผลต่อภาวการณ์เจริญพันธุ์ทั้งสิ้น ทำให้การรักษาภาวะเจริญพันธุ์เป็นกระบวนการที่สำคัญสำหรับคนเหล่านี้

ด้วยความก้าวหน้าทางงานวิจัยด้านการเจริญพันธุ์ เช่น การแช่แข็งเซลล์ไข่และอสุจินี้เป็นกระบวนการที่จะสามารถช่วยเพิ่มโอกาสในการมีลูกได้ นั่นหมายความว่าเราสามารถรักษาภาวะเจริญพันธุ์ของเราให้พร้อมเพื่อมีลูกในอนาคตได้

5 เหตุผลด้านการแพทย์สำหรับคนที่ต้องเข้ารับการรักษาภาวะเจริญพันธุ์ 

เหตุผลด้านการแพทย์ดังต่อไปนี้ เมื่อคุณเคยเข้ารับการรักษามาก่อน คุณจะต้องเข้ารับการรักษาภาวะเจริญพันธุ์ทันทีเพื่อเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์ของคุณ 

  1. การรักษาด้วยเคมีบำบัด: การทำเคมีบำบัดส่งผลกระทบที่รุนแรงต่อภาวะการเจริญพันธุ์ได้ การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์จึงกลายเป็นตัวเลือกสำคัญสำหรับคนที่เคยทำเคมีบำบัดมา
  2. การฉายรังสี: คล้ายกับการทำเคมีบำบัด นั่นคือการฉายรังสีก็สามารถไปทำลายระบบสืบพันธุ์ได้ ในกรณีนี้การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์จึงเป็นตัวช่วยที่ดีสำหรับคนที่เคยทำการฉายรังสีมา
  3. การเริ่มทำฮอร์โมนบำบัด: สำหรับคนที่จะเข้ารับการรักษาด้วยการทำฮอร์โมนบำบัด การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์อาจเป็นขั้นตอนที่สำคัญเพื่อช่วยเพิ่มโอกาสความสามารถในการมีลูกในอนาคตได้
  4. การศัลยกรรมตกแต่ง: การผ่าตัดบางประเภทมีผลต่อภาวะเจริญพันธุ์ ในกรณีนี้ การศัลยกรรมตกแต่งเป็นเรื่องควรให้ความสำคัญเป็นอย่างมากเมื่อคุณต้องการมีลูกในอนาคต ดังนั้นการรักษาภาวะเจริญพันธุ์จึงเป็นตัวเลือกที่ดี
  5. ภาวะทางพันธุกรรม: หากคุณมีภาวะทางพันธุกรรมที่ส่งผลกระทบต่อภาวะการเจริญพันธุ์หรือนำมาสู่อาการที่ซับซ้อนขึ้น การรักษาภาวการณ์เจริญพันธุ์อาจเป็นทางเลือกที่ดีตัวเลือกหนึ่ง

หนึ่งข้อได้เปรียบสำคัญของการรักษาภาวะการเจริญพันธุ์ คือใช้เวลาน้อยในการประสบความสำเร็จ คนไข้สามารถเข้ารับการรักษาทางการแพทย์ไปพร้อมกับการรักษาภาวะการเจริญพันธุ์ได้ ซึ่งมันช่วยแก้ไขปัญหาทางสุขภาพและเป็นตัวเลือกในการสร้างครอบครัวในอนาคตได้

ตัวเลือกในการเข้ารับการรักษาภาวะเจริญพันธุ์

ตัวเลือกการรักษาภาวะเจริญพันธุ์มีตัวเลือกที่หลากหลายที่เหมาะสำหรับทั้งผู้ชายและผู้หญิง

ตัวเลือกสำหรับผู้หญิง:

การแช่แข็งตัวอ่อน: ผู้หญิงจะผ่านขั้นตอนแรก คือการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) ในระหว่างกระบวนการนี้ รังไข่จะถูกกระตุ้นด้วยยาเพื่อสร้างไข่ซึ่งไข่จะถูกเก็บในขณะที่คนไข้สลบ ผ่านกระบวนการที่เรียกว่า การแช่แข็งแบบผลึกแก้ว (vitrification) ไข่เหล่านี้จะถูกผสมกับน้ำอสุจิของฝ่ายชายและจะถูกตรวจสอบว่าได้ผลหรือไม่ก่อนที่จะถูกแช่แข็ง ตัวอ่อนที่ถูกแช่แข็งสามารถนำมาทำการรักษาได้ไม่จำกัดเนื่องจากคุณภาพของตัวอ่อนจะไม่เสื่อมสภาพลงตามกาลเวลา

การฝากไข่: กระบวนการนี้คล้ายกับการแช่แข็งตัวอ่อน ไข่ที่เก็บได้จะถูกนำไปไว้ในห้องที่มีการใช้ไนโตรเจนเหลวและจะถูกแช่แข็งทันที ไข่จะสามารถฉีดเข้าไปในมดลูกได้ก็ต่อเมื่อทำการปฏิสนธิกับอสุจิแล้ว นอกจากนี้เซลล์ไข่สามารถเก็บไว้ได้ไม่มีกำหนดอีกด้วย

การย้ายตัวอ่อน: เมื่อคนไข้ตัดสินใจที่จะใช้ไข่หรือตัวอ่อนที่แช่แข็งไว้ ไข่หรือตัวอ่อนนั้นจะผ่านการละลายและเข้าสู่การปฏิสนธิกับอสุจิของฝ่ายชาย ตัวอ่อนที่ผลิตได้จะถูกฝังในโพรงมดลูกของฝ่ายหญิง ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นที่คนไข้ต้องทานยาเพื่อเตรียมผนังมดลูกให้พร้อมสำหรับการฝังตัวนนั่นเอง

ตัวเลือกสำหรับผู้ชาย:

การแช่แข็งอสุจิ: คุณผู้ชายสามารถเลือกที่จะแช่แข็งอสุจิจากสาเหตุหลาย ๆ ประการ เช่น ภาวะทางพันธุกรรม การผ่าตัดทำหมัน คุณภาพของอสุจิลดลง การเก็บตัวอย่างที่ล้มเหลว หรือต้องเข้ารับราชการทหาร อสุจิจะถูกเก็บและแช่แข็งไว้เป็นเวลา 10 ปี แต่สามารถขยายระยะเวลาได้แล้วแต่กรณี

แม้ว่าอสุจิบางตัวอาจไม่รอดจากขั้นตอนการละลาย แต่การใช้อสุจิแช่แข็งก็ประสบความสำเร็จไม่แพ้การใช้อสุจิสดสำหรับการปฏิสนธินอกร่างกาย แต่ในการทำอิ๊กซี่ (ICSI) หรือการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) ก็สามารถใช้อสุจิแช่แข็งได้

หากคุณสนใจต้องการรักษาภาวะเจริญพันธุ์ คุณสามารถทำการนัดหมายเพื่อตรวจภาวะการเจริญพันธุ์ของคุณได้ พวกเราพร้อมช่วยคุณตัดสินใจและแนะนำคุณตลอดทั้งกระบวนการทุกขั้นตอน

ควรเข้ารับการรักษาภาวะเจริญพันธุ์เมื่อไหร่

เวลาเป็นสิ่งสําคัญในการเข้ารับการรักษาภาวะเจริญพันธุ์ สิ่งสำคัญคือต้องประเมินแผนชีวิต เป้าหมาย และอายุของตัวคุณเองว่าเป็นทางเลือกที่เหมาะสมสำหรับคุณหรือไม่ ซึ่งอายุของคุณมีผลกระทบอย่างมากต่ออัตราความสำเร็จของการใช้ไข่แช่แข็งหรือสเปิร์มในอนาคต ดังนั้นอายุจึงเป็นปัจจัยสำคัญหลักที่ต้องพิจารณาเป็นอันดับต้น ๆ 

คำแนะนำสุดท้ายเกี่ยวกับการรักษาภาวะการเจริญพันธุ์

การรักษาภาวะเจริญพันธุ์ไม่ได้เป็นเพียงกระบวนการทางการแพทย์เท่านั้น แต่เป็นการตัดสินใจที่เปลี่ยนแปลงชีวิตของคุณได้ ซึ่งทำให้คุณและคู่รักของคุณสามารถกำหนดเส้นทางการสร้างครอบครัวของคุณได้ ช่วยให้คุณสามารถวางแผนได้ทั้งในเรื่องส่วนตัว เรื่องการเข้ารับการรักษา และที่สำคัญคุณก็มีโอกาสในการสร้างครอบครัวได้เช่นเดียวกัน

หากคุณสนใจที่จะรักษาภาวะเจริญพันธุ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะเจริญพันธุ์ของเราสามารถให้คำแนะนำกับคุณได้ พวกเราสามารถให้การสนับสนุนและชี้แนะคุณในทุกกระบวนการได้ และช่วยให้ข้อมูลในการตัดสินใจที่สอดคล้องกับความต้องการและเป้าหมายของคุณได้

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE