HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

ภาวะอารมณ์ระหว่างการทำเด็กหลอดแก้ว
READ MORE

เคล็ดลับการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิตเพื่อปรับปรุงภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

บทบาทของยาแผนโบราณในการสนับสนุนภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

การย้ายตัวอ่อนรอบสด vs. แช่แข็ง แบบไหนเหมาะกับคุณ
READ MORE

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ TESA และ PESA
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

สุขภาพของมดลูกสำคัญต่อความสำเร็จในการย้ายตัวอ่อนอย่างไร?

13 มี.ค. 2025

ที่คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากอย่าง Bangkok Central Clinic เราเข้าใจดีว่าสุขภาพของมดลูกมีผลอย่างยิ่งต่อประสิทธิภาพของการรักษาภาวะมีบุตรยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในขั้นตอนการย้ายตัวอ่อน เพราะมดลูกเป็นสถานที่ที่ตัวอ่อนจะฝังตัว เจริญเติบโต และพัฒนาเป็นทารกที่แข็งแรง ดังนั้นการเตรียมตัวจึงเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ในบทความนี้ เราได้รวบรวมวิธีการดูแลตัวเองสำหรับคุณแม่มือใหม่ พร้อมทั้งอธิบายถึงความสำคัญของสุขภาพมดลูก ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพมดลูก และแนวทางในการสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับการย้ายตัวอ่อน เพื่อให้คุณมีความพร้อมเต็มที่สำหรับการตั้งครรภ์ค่ะ

ทำไมสุขภาพมดลูกจึงมีความสำคัญ?

เมื่อมาถึงขั้นตอนการย้ายตัวอ่อน มดลูกคืออวัยวะสำคัญที่จำเป็นต้องมีสภาพแวดล้อมทางกายภาพและชีวภาพที่เหมาะสมสำหรับการตั้งครรภ์ เราเรียกความพร้อมของเยื่อบุโพรงมดลูกว่า “ภาวะรองรับตัวอ่อน” ซึ่งหมายถึงความสามารถในการรองรับการฝังตัวและพัฒนาของตัวอ่อนต่อไป

หน้าที่สำคัญของมดลูกในกระบวนการสืบพันธุ์ได้แก่:

การฝังตัว: ตัวอ่อนต้องเชื่อมต่อกับเยื่อบุโพรงมดลูกซึ่งเป็นแหล่งของสารอาหารและฮอร์โมนที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต

การบำรุงอย่างต่อเนื่อง: เมื่อมดลูกมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ตัวอ่อนก็จะสามารถเจริญเติบโตเป็นทารกที่สมบูรณ์แข็งแรง

การทำงานร่วมกับฮอร์โมน: มดลูกต้องทำงานร่วมกับฮอร์โมนต่าง ๆ เช่น เอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน เพื่อควบคุมกระบวนการตั้งครรภ์ให้เป็นไปอย่างปกติ

เมื่อมดลูกมีสุขภาพสมบูรณ์และตอบสนองได้อย่างดีเยี่ยม โอกาสสำเร็จในการฝังตัวก็จะยิ่งสูงขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนในระยะเริ่มต้นของการตั้งครรภ์ได้ด้วย

ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพมดลูก

ความสมบูรณ์ของมดลูกขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นภาวะทางร่างกายหรือรูปแบบการใช้ชีวิต การตระหนักและแก้ไขปัญหาอย่างถูกจุดจึงมีส่วนสำคัญที่ช่วยทำให้มดลูกมีความพร้อมสำหรับการย้ายตัวอ่อน ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพมดลูกมีดังต่อไปนี้

ความผิดปกติของมดลูก

เนื้องอกมดลูก (Fibroids): ก้อนเนื้องอกที่เกิดขึ้นภายในหรือรอบ ๆ มดลูก แม้จะไม่ใช่มะเร็ง แต่ก็อาจส่งผลต่อโพรงมดลูก รวมถึงรบกวนการฝังตัวและเติบโตของตัวอ่อนได้

ติ่งเนื้อในโพรงมดลูก (Polyps): หากเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญเติบโตมากเกินไป อาจทำให้สภาพแวดล้อมภายในมดลูกไม่เหมาะสมสำหรับการฝังตัวของตัวอ่อน

ความผิดปกติแต่กำเนิดของมดลูก: โครงสร้างที่ผิดปกติของมดลูกอาจลดโอกาสที่ตัวอ่อนจะฝังตัวได้สำเร็จ เช่น มดลูกมีผนังกั้น (Septate Uterus) ทำให้โพรงมดลูกแยกออกเป็นสองส่วน 

ความหนาของเยื่อบุโพรงมดลูก

หนึ่งในปัจจัยที่สำคัญต่อความสำเร็จในการฝังตัวคือความหนาของเยื่อบุโพรงมดลูก โดยทั่วไป เยื่อบุโพรงมดลูกควรมีความหนาอยู่ที่ 7-14 มิลลิเมตรเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับตัวอ่อน หากบางเกินไปหรือหนาเกินไปก็อาจส่งผลต่อความสามารถในการรองรับตัวอ่อนและลดโอกาสสำเร็จในการตั้งครรภ์

ความไม่สมดุลของฮอร์โมน

ฮอร์โมนมีบทบาทสำคัญในการเตรียมเยื่อบุโพรงมดลูกให้พร้อมตลอดกระบวนการปฏิสนธิ หากระดับของฮอร์โมนเอสโตรเจนหรือโปรเจสเตอโรนไม่สมดุล ก็อาจส่งผลให้เยื่อบุโพรงมดลูกไม่พร้อมรองรับตัวอ่อนและลดโอกาสในการฝังตัว

การติดเชื้อเรื้อรัง

ภาวะเรื้อรังบางอย่าง เช่น เยื่อบุโพรงมดลูกอักเสบเรื้อรัง (Chronic Endometritis) ซึ่งหมายถึงการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูกอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน เป็นปัจจัยที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมดลูก แม้การติดเชื้อเหล่านี้จะไม่ค่อยแสดงอาการชัดเจน แต่ก็สามารถรบกวนกระบวนการฝังตัวของตัวอ่อนได้

พังผืดในโพรงมดลูก

พังผืดในโพรงมดลูกมักเกิดจากการผ่าตัด การติดเชื้อ หรือภาวะบางอย่าง เช่น กลุ่มอาการแอชเชอร์แมน (Asherman’s Syndrome) ซึ่งรบกวนกระบวนการฝังตัวและส่งผลต่อความพร้อมในการรองรับตัวอ่อน

วิธีทางการแพทย์ในการดูแลสุขภาพมดลูก

ความก้าวหน้าทางการแพทย์ในปัจจุบันช่วยให้เราสามารถตรวจวินิจฉัยและรักษาความผิดปกติของมดลูกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้การย้ายตัวอ่อนมีโอกาสสำเร็จสูงขึ้น โดยเราจะใช้เทคนิคต่อไปนี้ในการดูแลสุขภาพมดลูก ช่วยให้มดลูกมีสภาพแวดล้อมที่พร้อมสำหรับการรองรับตัวอ่อน

การตรวจวินิจฉัย

อัลตร้าซาวด์ (Ultrasound Scans): อัลตร้าซาวด์คือการตรวจที่ใช้คลื่นเสียงความถี่สูงสะท้อนไปที่อวัยวะที่ต้องการแล้วแปลงเป็นสัญญาณภาพ ใช้ในการตรวจสอบโครงสร้างและความหนาของเยื่อบุโพรงมดลูกโดยไม่ต้องผ่าตัด

การส่องกล้องโพรงมดลูก (Hysteroscopy): การตรวจด้วยวิธีนี้ช่วยให้แพทย์สามารถมองเห็นภายในโพรงมดลูกและตรวจหาความผิดปกติต่าง ๆ เช่น เนื้องอก ติ่งเนื้อ หรือพังผืด โดยผู้ป่วยจะมีเพียงแผลขนาดเล็ก เจ็บน้อย และกลับไปใช้ชีวิตปกติได้เร็ว

การตรวจความพร้อมเยื่อบุโพรงมดลูก (Endometrial Receptivity Analysis): การตรวจความพร้อมเยื่อบุโพรงมดลูกหรือ ERA เป็นการตรวจเฉพาะทางที่ช่วยระบุช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการย้ายตัวอ่อน โดยพิจารณาจากการตอบสนองของเยื่อบุโพรงมดลูก

การรักษาความผิดปกติของมดลูก

  • เนื้องอกมดลูก (Fibroids), ติ่งเนื้อ (Polyps) และพังผืด (Adhesions) สามารถกำจัดหรือลดขนาดได้โดยใช้เทคนิคการผ่าตัดขนาดเล็ก ทำให้ฟื้นตัวได้เร็ว
  • การรักษาด้วยฮอร์โมนเพื่อปรับสมดุลให้เหมาะสม ทำให้เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญเติบโตได้ตามปกติ
  • สำหรับการติดเชื้อเรื้อรัง สามารถใช้ยาปฏิชีวนะเฉพาะทางเพื่อกำจัดเชื้อและฟื้นฟูสภาพแวดล้อมภายในมดลูกให้กลับมาแข็งแรงได้

การเพิ่มความหนาของเยื่อบุโพรงมดลูก

หากเยื่อบุโพรงมดลูกบางเกินไป แพทย์มักแนะนำให้ใช้ฮอร์โมนเสริม เช่น เอสโตรเจน เพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตของเยื่อบุโพรงมดลูก ในบางกรณีอาจใช้การรักษาด้วยพลาสม่าเกล็ดเลือดเข้มข้น (Platelet Rich Plasma) ซึ่งช่วยกระตุ้นการสร้างเซลล์ เพิ่มการเจริญเติบโตของเยื่อบุโพรงมดลูกและความสามารถในการรองรับตัวอ่อน

การปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์เพื่อเสริมสร้างสุขภาพมดลูก

นอกจากการรักษาทางการแพทย์แล้ว การปรับเปลี่ยนไลฟ์สไตล์ก็มีส่วนช่วยในการส่งเสริมสุขภาพของมดลูก และเพิ่มโอกาสในการรักษาภาวะมีบุตรยากให้ประสบความสำเร็จได้เช่นเดียวกัน

โภชนาการที่สมดุล

การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ เช่น ผักใบเขียว ถั่ว เมล็ดพืช และปลาที่มีโอเมก้า 3 จะช่วยเสริมวิตามิน สารต้านอนุมูลอิสระ และไขมันดีในร่างกาย ทำให้ฮอร์โมนมีความสมดุล และมีเลือดไหลเวียนไปหล่อเลี้ยงมดลูกมากขึ้น

การออกกำลังกายเป็นประจำ

การออกกำลังกายระดับปานกลางช่วยกระตุ้นการไหลเวียนโลหิตทั่วร่างกาย ซึ่งรวมถึงอวัยวะสืบพันธุ์ จึงทำให้เยื่อบุโพรงมดลูกมีความพร้อมมากขึ้นสำหรับการฝังตัว

การจัดการความเครียด

ความเครียดเรื้อรังอาจรบกวนการผลิตฮอร์โมนและส่งผลเสียต่อสุขภาพของมดลูกได้ หากคุณมีความเครียดระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก เราแนะนำให้ทำกิจกรรมที่ช่วยลดความเครียดและส่งเสริมสุขภาพไปควบคู่กัน เช่น การฝึกสมาธิ โยคะ หรือการเข้ารับคำปรึกษาทางจิตวิทยา

การหลีกเลี่ยงสารพิษ

ลดการสัมผัสสารอันตราย เช่น บุหรี่ แอลกอฮอล์ในปริมาณมาก และมลพิษจากสิ่งแวดล้อม เพื่อรักษาสุขภาพร่างกาย รวมถึงสุขภาพของมดลูกให้แข็งแรง

หาช่วงเวลาที่เหมาะสมสำหรับการย้ายตัวอ่อน

จังหวะเวลาเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของการย้ายตัวอ่อน เราเรียกช่วงเวลาที่เยื่อบุโพรงมดลูกมีความพร้อมที่สุดว่า หน้าต่างของการเปิดรับตัวอ่อน (Implantation Window) โดยทั่วไป เราจะทราบช่วงเวลานี้จากการอัลตร้าซาวด์และการประเมินระดับฮอร์โมน แต่ในบางกรณี แพทย์อาจใช้การตรวจความพร้อมเยื่อบุโพรงมดลูก (Endometrial Receptivity Analysis) เพื่อระบุช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการย้ายตัวอ่อนและเพิ่มโอกาสสำเร็จในการฝังตัว

การให้ความสำคัญกับอนามัยการเจริญพันธุ์ของคุณ

เนื่องจากสุขภาพของมดลูกเป็นปัจจัยพื้นฐานที่ส่งผลโดยตรงต่อความสำเร็จของการย้ายตัวอ่อน คุณพ่อคุณแม่จึงควรทำความเข้าใจปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อความพร้อมของมดลูก และวิธีการดูแลให้มดลูกอยู่ในสภาพที่ดีที่สุดเพื่อเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์และให้กำเนิดทารกที่แข็งแรงสมบูรณ์ 

ที่ Bangkok Central Clinic จุดมุ่งหมายของเราคือการช่วยให้คุณประสบความสำเร็จในการตั้งครรภ์เพื่อเริ่มต้นเส้นทางการสร้างครอบครัวและเติมเต็มความฝันในการเป็นพ่อแม่ เรามุ่งมั่นให้การดูแลด้านอนามัยการเจริญพันธุ์แบบครบวงจร ตั้งแต่การตรวจประเมินอย่างละเอียด ไปจนถึงการรักษาด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ช่วยแก้ไขปัญหาอย่างครอบคลุม เราพร้อมที่จะอยู่เคียงข้างและช่วยเหลือคุณตลอดเส้นทางการรักษาภาวะมีบุตรยาก ไม่ว่าคุณจะมีคำถามหรือต้องการความช่วยเหลือในด้านไหน คุณสามารถติดต่อเราได้เสมอ ทีมงานของเรายินดีให้คำปรึกษาและสนับสนุนคุณอย่างเต็มที่ค่ะ 

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

ภาวะอารมณ์ระหว่างการทำเด็กหลอดแก้ว
READ MORE

เคล็ดลับการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิตเพื่อปรับปรุงภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

บทบาทของยาแผนโบราณในการสนับสนุนภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

การย้ายตัวอ่อนรอบสด vs. แช่แข็ง แบบไหนเหมาะกับคุณ
READ MORE

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ TESA และ PESA
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE