HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์

02 ก.ย. 2024

บางครั้งการตั้งครรภ์ก็เป็นกระบวนการที่ยากลำบากและทำให้คุณท้อแท้ใจได้ง่าย ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่ประสบปัญหาภาวะมีบุตรยาก ที่คลินิกรักษาภาวะมีบุตรยากของเราในกรุงเทพฯ เรามุ่งมั่นที่จะเติมเต็มความฝันของคู่รักในการมีลูก กระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยากด้วยวิธี IVF (In Vitro Fertilization) ที่คลินิกของเรามีความครอบคลุมและมั่นใจได้ว่าคุณจะได้รับการดูแลอย่างดีในทุกขั้นตอน ตั้งแต่การปรึกษาแพทย์ไปจนกระทั่งตั้งครรภ์ โดยในบทความนี้ เราจะอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอนและระยะเวลาของการทำ IVF เพื่อให้คุณทราบว่าควรคาดหวังอะไรในแต่ละขั้นตอน

การปรึกษาเบื้องต้น

ที่คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเรา กระบวนการ IVF จะเริ่มต้นด้วยการปรึกษาแพทย์เป็นอย่างแรก คุณจะได้พูดคุยปรึกษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์ที่มากประสบการณ์ แพทย์จะพิจารณาประวัติทางการแพทย์ของคุณตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รวมถึงสอบถามว่าคุณเคยรักษาภาวะมีบุตรยากด้วยวิธีใดมาก่อนหรือไม่ คุณสามารถปรึกษาหรือสอบถามแพทย์ได้ทุกเรื่องที่สงสัยหรือกังวล เพราะจุดมุ่งหมายของเราคือการช่วยให้คุณเข้าใจและไว้วางใจในกระบวนการ IVF

การทำเด็กหลอดแก้ว In Vitro Fertilization (IVF) 

  1. ยา: แพทย์จะใช้ยาในการกระตุ้นรังไข่ให้ผลิตไข่ในปริมาณมาก
  2. การเก็บไข่: ไข่จะถูกเก็บจากรังไข่โดยการผ่าตัดทางช่องคลอด
  3. การปฏิสนธิและการเพาะเลี้ยงตัวอ่อน: ไข่และอสุจิจะถูกนำมาปฏิสนธิในห้องปฏิบัติการ โดยแพทย์จะคอยสังเกตการเจริญเติบโตของไข่ที่ปฏิสนธิแล้ว
  4. การย้ายตัวอ่อน: เมื่อตัวอ่อนมีขนาดที่เหมาะสม แพทย์จะทำการย้ายเข้าโพรงมดลูกเพื่อรอการฝังตัว
  5. การตรวจการตั้งครรภ์: ระยะเวลาก่อนตั้งครรภ์คือ 6-10 วัน ซึ่งผลการตั้งครรภ์สามารถยืนยันได้จากการตรวจเลือด

การตรวจร่างกายก่อนกระบวนการรักษา

หลังจากการนัดปรึกษาเบื้องต้น แพทย์จะทำการตรวจหลายอย่างเพื่อประเมินภาวะเจริญพันธุ์ของคู่รัก สำหรับฝ่ายหญิงจะมีการอัลตร้าซาวด์เพื่อตรวจสอบรังไข่และมดลูก รวมถึงการตรวจระดับฮอร์โมนโดยการตรวจเลือด สำหรับฝ่ายชายจะมีการวิเคราะห์น้ำเชื้อเพื่อประเมินการเคลื่อนไหว รูปร่าง และจำนวนอสุจิ

การจัดตารางการรักษา

ทีมผู้เชี่ยวชาญของเราจะปรับแต่งแผนการรักษาตามผลการตรวจร่างกายและความต้องการส่วนตัวของคุณ โดยเราจะอธิบายเกี่ยวกับยาและขั้นตอนทั้งหมดในกระบวนการ IVF ของคุณ นอกจากนี้ เราจะจัดตารางเวลาสำหรับแต่ละขั้นตอนและอธิบายข้อมูลอย่างละเอียด เพื่อให้คุณทราบอย่างชัดเจนว่าควรคาดหวังอะไรในแต่ละขั้นตอน

การกระตุ้นรังไข่

ขั้นตอนต่อไปของกระบวนการ IVF คือการกระตุ้นรังไข่ ขั้นตอนนี้จะเป็นการใช้ยาเพื่อกระตุ้นให้รังไข่สร้างไข่จำนวนมาก โดยการกระตุ้นรังไข่มักใช้วิธีการฉีดยาทุกวันเป็นระยะเวลา 10-14 วัน ตลอดช่วงเวลานี้แพทย์จะนัดหมายให้คุณมาอัลตร้าซาวด์และตรวจเลือดหลายครั้งเพื่อตรวจสอบปฏิกิริยาต่อยาและปรับขนาดยาตามความจำเป็น 

การเก็บไข่

เมื่อไข่เจริญเติบโตจนมีขนาดที่เหมาะสม จะมีการฉีดยากระตุ้นเพื่อให้ไข่มีความสมบูรณ์พร้อมสำหรับการเก็บ หลังจากนั้นภายใน 36 ชั่วโมง แพทย์จะใช้เข็มขนาดเล็กในการเจาะเก็บไข่จากรังไข่โดยมีการให้ยาสลบตลอดกระบวนการ การเจาะเก็บไข่เป็นการผ่าตัดเล็ก ส่วนใหญ่จะใช้เวลาประมาณ 20-30 นาที หลังยาสลบหมดฤทธิ์ ผู้ป่วยก็สามารถกลับบ้านได้

การเก็บอสุจิและการปฏิสนธิ

ในวันเดียวกับการเก็บไข่ คู่รักฝ่ายชายหรือผู้บริจาคอสุจิก็ต้องเก็บตัวอย่างน้ำเชื้อของตนเองด้วยเช่นกัน ไข่และอสุจิที่เก็บได้จะถูกนำมาผสมกันเพื่อให้เกิดการปฏิสนธิในห้องปฏิบัติการ ซึ่งในบางกรณีอาจใช้วิธีการปฏิสนธินอกร่างกาย ICSI โดยฉีดอสุจิเพียงตัวเดียวเข้าไปในไข่โดยตรงเพื่อเพิ่มโอกาสในการปฏิสนธิ ไข่ที่ปฏิสนธิแล้วจะกลายเป็นตัวอ่อนภายใน 2-3 วัน และจะถูกเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการต่อไป 

การย้ายตัวอ่อน

หลังจากเพาะเลี้ยงได้ 3-5 วัน ตัวอ่อนที่แข็งแรงที่สุดจะถูกคัดเลือกเพื่อย้ายเข้าสู่มดลูก ซึ่งกระบวนการย้ายตัวอ่อนเป็นขั้นตอนที่ไม่ซับซ้อนและไม่เจ็บปวด จึงไม่จำเป็นต้องใช้ยาสลบ แพทย์จะใส่ตัวอ่อนเข้าไปในโพรงมดลูกโดยใช้สายสวนขนาดเล็ก ซึ่งตัวแปรที่ใช้พิจารณาจำนวนตัวอ่อนที่จะย้ายคืออายุของผู้ป่วยและคุณภาพของตัวอ่อน

การประคับประคองในระยะ Luteal

เพื่อเสริมสร้างเยื่อบุโพรงมดลูกและเพิ่มโอกาสในการฝังตัวของตัวอ่อน หลังจบขั้นตอนการย้ายตัวอ่อน ผู้ป่วยจะได้รับยาซึ่งมักจะอยู่ในรูปของอาหารเสริมโปรเจสเตอโรน ขั้นตอนนี้เรียกว่าการประคับประคองในระยะลูเทียล ซึ่งมีความสำคัญในการสร้างสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการฝังตัวและพัฒนาของตัวอ่อน ในช่วงเวลานี้ ทีมผู้เชี่ยวชาญของเราจะคอยติดตามผลอย่างต่อเนื่องและให้คำแนะนำและความช่วยเหลือที่จำเป็น

การทดสอบการตั้งครรภ์

เพื่อให้ทราบว่าตั้งครรภ์สำเร็จหรือไม่ จะมีการตรวจเลือดประมาณสองสัปดาห์หลังจากการย้ายตัวอ่อน สำหรับผู้ป่วยหลายคน ช่วงเวลาสองสัปดาห์ที่ต้องรอคอยนี้อาจทำให้เกิดความเครียด ซึ่งคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราที่กรุงเทพฯ มีทีมงานที่พร้อมให้ความช่วยเหลือและคลายความกังวลของคุณ เราพร้อมอยู่เคียงข้างคุณในช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดนั่นก็คือเมื่อผลการตั้งครรภ์เป็นบวก ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของบทบาทใหม่ในเส้นทางการเป็นพ่อแม่

การติดตามการตั้งครรภ์ในระยะแรก

หากผลการทดสอบการตั้งครรภ์เป็นบวก เราจะทำการรักษาและติดตามผลในช่วงแรกของการตั้งครรภ์ โดยจะอัลตร้าซาวด์เป็นประจำเพื่อติดตามพัฒนาการของตัวอ่อนและตรวจให้แน่ใจว่าทุกอย่างเป็นไปตามแผนการรักษา ทีมงานของเราจะคอยช่วยเหลือคุณหากมีปัญหาใด ๆ และดูแลคุณในเรื่องจำเป็นต่าง ๆ เพื่อให้คุณตั้งครรภ์อย่างแข็งแรงสุขภาพดี

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการ IVF ของคุณ

ที่ Bangkok Central Clinic เราตระหนักดีว่ากระบวนการ IVF อาจเป็นทั้งเรื่องที่น่าตื่นเต้นและน่ากังวล ทีมผู้เชี่ยวชาญของเรามีความมุ่งมั่นที่จะให้การดูแลและสนับสนุนคุณในทุกขั้นตอนของกระบวนการ เราพร้อมจะอยู่เคียงข้างคุณทุกขั้นตอน ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกไปจนถึงช่วงเวลาแสนพิเศษ นั่นก็คือการตั้งครรภ์ที่สำเร็จ หากคุณกำลังพิจารณาการรักษาด้วยวิธี IVF คุณสามารถนัดหมายเพื่อปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญของเราได้เลยวันนี้เพื่อเริ่มต้นเส้นทางที่จะเติมเต็มความปรารถนาของคุณในการเป็นพ่อแม่

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE