HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

ภาวะอารมณ์ระหว่างการทำเด็กหลอดแก้ว
READ MORE

เคล็ดลับการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิตเพื่อปรับปรุงภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

บทบาทของยาแผนโบราณในการสนับสนุนภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

การย้ายตัวอ่อนรอบสด vs. แช่แข็ง แบบไหนเหมาะกับคุณ
READ MORE

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ TESA และ PESA
READ MORE

สุขภาพของมดลูกสำคัญต่อความสำเร็จในการย้ายตัวอ่อนอย่างไร?
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?

31 ก.ค. 2024

ที่คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราในกรุงเทพฯ เราทราบดีว่าในการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์มักทำให้เส้นทางการสร้างครอบครัวมีความซับซ้อนมากขึ้น ดังนั้น การทราบกฎหมายพื้นฐานจึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับคู่รักที่ต้องการเข้ารับการรักษาด้วยกระบวนการต่าง ๆ เช่น การฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก (IUI) การทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) หรือการปฏิสนธินอกร่างกาย (ICSI) ประเทศไทยมีกฎหมายเฉพาะที่อาจไม่มีผลบังคับใช้ในประเทศอื่น เราเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งว่าการให้ข้อมูลที่ครบถ้วนแก่ผู้ป่วยจะช่วยให้เส้นทางการสร้างครอบครัวด้วยวิธีทางการแพทย์เป็นไปอย่างราบรื่นและถูกต้องตามกฎหมาย

ดังนั้น Bangkok Central Clinic จึงเขียนบทความนี้เพื่อให้ข้อมูลที่ครอบคลุมเกี่ยวกับระบบกฎหมายของไทยที่ควบคุมการรักษาภาวะมีบุตรยาก บทความนี้จะเจาะลึกถึงเหตุผลเบื้องหลังกฎระเบียบเหล่านี้ ผลกระทบต่อผู้ป่วยทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงสิ่งที่คุณจำเป็นต้องรู้เพื่อให้การรักษาภาวะมีบุตรยากเป็นไปอย่างราบรื่นและถูกต้องตามกฎหมาย

การทำ IVF ในประเทศไทย คู่รักจำเป็นต้องแต่งงานกันอย่างถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่?

ตามกฎหมายของไทย คู่รักที่ต้องการทำ IVF จะต้องแต่งงานกันอย่างถูกต้องตามกฎหมายเท่านั้น

เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ที่เจริญก้าวหน้าขึ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมาช่วยให้คู่รักหลายคู่สามารถตั้งครรภ์ได้ด้วยกระบวนการทางการแพทย์ เช่น การฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก (IUI) การปฏิสนธินอกร่างกาย (IVF) หรือการฉีดอสุจิเข้าสู่เซลล์ไข่ (ICSI) อย่างไรก็ตาม กฎหมายและข้อบังคับที่ควบคุมกระบวนการเหล่านี้อาจแตกต่างกันมากในหลายประเทศ ประเทศไทยนั้นมีกฎระเบียบเฉพาะที่กำหนดว่าใครบ้างที่มีสิทธิ์เข้ารับการรักษาเหล่านี้ และภายใต้เงื่อนไขใด ซึ่งคำถามที่พบบ่อยคือการเข้ารับการรักษาภาวะมีบุตรยากด้วยวิธีทางการแพทย์เหล่านี้จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสหรือไม่

พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 (ออกบังคับใช้ในปี 2558) กำหนดคุณสมบัติของผู้ที่เข้ารับการรักษาด้วยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ ซึ่งรวมถึง IVF ไว้อย่างชัดเจน โดยกฎหมายนี้อนุญาตให้เฉพาะคู่สมรสตามกฎหมายเท่านั้นที่มีสิทธิ์เข้ารับการรักษา ดังนั้น คู่รักที่ต้องการทำ IVF ในประเทศไทยจึงจำเป็นต้องมีทะเบียนสมรส กฎหมายนี้มีจุดประสงค์เพื่อรับประกันว่าเด็กที่เกิดจากเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์จะมีครอบครัวที่ได้รับการรับรองตามกฎหมาย

อย่างไรก็ตาม การกระตุ้นรังไข่และการรักษาด้วยยาบางชนิดเพื่อมีบุตรก็สามารถทำได้โดยไม่ต้องแต่งงาน หากต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติม โปรดติดต่อทีมผู้เชี่ยวชาญของเรา

ข้อกำหนดสำหรับการทำ IUI, IVF, และ ICSI ในประเทศไทย

นอกเหนือจากทะเบียนสมรสแล้ว ยังมีข้อกำหนดเพิ่มเติมสำหรับคู่รักที่กำลังพิจารณาทำ IUI, IVF, และ ICSI ในประเทศไทยด้วย ซึ่งได้แก่:

  • ข้อจำกัดด้านอายุ: แม้ข้อกำหนดนี้จะแตกต่างกันไปตามสถานพยาบาล แต่โดยทั่วไป ผู้หญิงที่เข้ารับการรักษาเหล่านี้จะต้องมีอายุระหว่าง 45 ถึง 60 ปี
  • การตรวจสุขภาพ: เพื่อประเมินว่าคู่สมรสฝ่ายใดเหมาะสมที่จะเข้ารับการรักษา แพทย์มักจะให้ทั้งคู่เข้ารับการตรวจสุขภาพหลายรายการ ซึ่งรวมถึงการประเมินภาวะมีบุตรยาก การตรวจร่างกายทั่วไป และอาจรวมถึงการตรวจยีน
  • การปรึกษา: หลายคลินิกกำหนดให้คู่รักเข้าร่วมปรึกษากับทางคลินิกเพื่อพูดคุยเกี่ยวกับผลกระทบทางสังคม จิตใจ และอารมณ์ของการรักษาด้วยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
  • แบบฟอร์มยินยอม: ทั้งสองฝ่ายจะต้องเซ็นแบบฟอร์มยินยอมเพื่อแสดงว่าเข้าใจและยินยอมที่จะเข้ารับการรักษา

อ่านเพิ่มเติม: การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ

joyful couple relax and work on laptop computer at modern living room indoor home

ทำไมทะเบียนสมรสจึงสำคัญ?

เหตุผลที่ประเทศไทยกำหนดให้ต้องมีทะเบียนสมรสสำหรับการทำ IUI, IVF, และ ICSI นั้นมาจากทั้งปัจจัยทางวัฒนธรรมและกฎหมาย โดยทางกฎหมายนั้นพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 ช่วยรับรองสิทธิ์อย่างถูกต้องตามกฎหมายแก่เด็กที่เกิดจากเทคโนโลยีเหล่านี้ โดยรับรองให้เด็กเป็นสมาชิกของครอบครัวอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ส่วนปัจจัยทางวัฒนธรรม คือการที่ประเทศไทยให้ความสำคัญกับสถาบันครอบครัวและความมั่นคงของสังคม ซึ่งสอดคล้องกับค่านิยมดั้งเดิมของไทยที่เน้นย้ำความสำคัญของการแต่งงาน

ผลกระทบต่อคู่รักชาวต่างชาติที่ไม่ได้แต่งงานกันอย่างถูกต้องตามกฎหมาย

เนื่องจากประเทศไทยมีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างถูกกว่าและมีการดูแลรักษาทางการแพทย์ที่ยอดเยี่ยมเมื่อเทียบกับหลายประเทศทางตะวันตก จึงเป็นที่นิยมสำหรับคู่รักชาวต่างชาติที่ต้องการรักษาภาวะมีบุตรยาก แต่คู่รักชาวต่างชาติจำเป็นต้องปฏิบัติตามกฎหมายของไทยเช่นกัน ซึ่งหมายความว่า คู่รักจะต้องแสดงทะเบียนสมรสเพื่อเข้ารับการทำ ICSI, IVF หรือ IUI ทั้งนี้ เพื่อให้แน่ใจว่ากระบวนการทั้งหมดเป็นไปตามมาตรฐาน คู่รักควรติดต่อกับคลินิกผู้มีบุตรยากที่ได้เลือกไว้และอาจจะต้องปรึกษาที่ปรึกษาทางกฎหมายด้วย

สรุปข้อกำหนดทางกฎหมายของ ICSI, IVF และ IUI

สรุปแล้ว การทำ ICSI, IVF หรือ IUI ในประเทศไทยจำเป็นต้องมีทะเบียนสมรส พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ พ.ศ. 2558 มีบทบัญญัตินี้ไว้เพื่อให้แน่ใจว่าเด็กที่เกิดจากเทคโนโลยีเหล่านี้จะมีครอบครัวที่ได้รับการรับรองตามกฎหมาย แม้ว่ากฎหมายนี้อาจสร้างความยากลำบากสำหรับคนโสดและคู่ที่ไม่ได้แต่งงาน แต่ก็มีพื้นฐานมาจากทั้งปัจจัยทางวัฒนธรรมและกฎหมาย ทั้งนี้ สำหรับผู้ที่ต้องการสร้างหรือขยายครอบครัว ประเทศไทยเป็นตัวเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ เนื่องจากมีสถานพยาบาลชั้นนำและความเชี่ยวชาญด้านการรักษาภาวะมีบุตรยาก

เรามีความมุ่งมั่นที่จะช่วยให้คู่รักทุกคู่ที่ผ่านเกณฑ์ได้บรรลุความฝันในการเป็นพ่อแม่ โดยยังคงยึดมั่นในกฎหมายและข้อบังคับของไทยอย่างเคร่งครัด แม้กฎหมายไทยอาจมีการเปลี่ยนแปลงในอนาคต แต่เราจะติดตามการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้อยู่เสมอเพื่อมอบข้อมูลใหม่ ๆ ที่มีความถูกต้องแก่ผู้ป่วยของเรา

เราเข้าใจเป็นอย่างดีว่าเกณฑ์เหล่านี้อาจเป็นเรื่องยากสำหรับใครหลาย ๆ คน ดังนั้นเราจึงคอยให้คำแนะนำและสนับสนุนคุณตลอดเส้นทางการรักษาภาวะมีบุตรยาก หากคุณต้องการข้อมูลที่เฉพาะเจาะจงและคำแนะนำที่ตรงกับความต้องการมากขึ้น โปรดติดต่อทีมงานคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราในกรุงเทพฯ เราพร้อมให้คำตอบและความช่วยเหลือตลอดเส้นทางการสร้างครอบครัวในฝันของคุณ

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

ภาวะอารมณ์ระหว่างการทำเด็กหลอดแก้ว
READ MORE

เคล็ดลับการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิตเพื่อปรับปรุงภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

บทบาทของยาแผนโบราณในการสนับสนุนภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

การย้ายตัวอ่อนรอบสด vs. แช่แข็ง แบบไหนเหมาะกับคุณ
READ MORE

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ TESA และ PESA
READ MORE

สุขภาพของมดลูกสำคัญต่อความสำเร็จในการย้ายตัวอ่อนอย่างไร?
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE