HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

ภาวะอารมณ์ระหว่างการทำเด็กหลอดแก้ว
READ MORE

เคล็ดลับการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิตเพื่อปรับปรุงภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

บทบาทของยาแผนโบราณในการสนับสนุนภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

การย้ายตัวอ่อนรอบสด vs. แช่แข็ง แบบไหนเหมาะกับคุณ
READ MORE

สุขภาพของมดลูกสำคัญต่อความสำเร็จในการย้ายตัวอ่อนอย่างไร?
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ TESA และ PESA

13 มี.ค. 2025

ที่คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากอย่าง Bangkok Central Clinic  เราเข้าใจดีว่าการรักษาภาวะมีบุตรยากมีเรื่องที่ต้องทำความเข้าใจมากมายและอาจทำให้คุณเครียดได้ง่าย ๆ โดยเฉพาะคู่รักหรือผู้ที่กำลังเผชิญกับภาวะมีบุตรยากในเพศชาย แต่ข่าวดีก็คือวิธีการ TESA และ PESA เป็นทางเลือกที่ช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้ เพราะฉะนั้นจึงไม่ต้องกังวลไปค่ะ ในบทความนี้ เราจะมาอธิบายให้คุณเข้าใจได้ง่ายขึ้นเกี่ยวกับการรักษาทั้งสองวิธี ไม่ว่าจะเป็นวัตถุประสงค์ วิธีการ และบทบาทของการรักษาบนเส้นทางการสร้างครอบครัวของคุณ

ภาวะมีบุตรยากในเพศชายคืออะไร?

ภาวะมีบุตรยากในเพศชายอาจเกิดจากหลายสาเหตุ หนึ่งในนั้นคือภาวะตรวจไม่พบอสุจิ (Azoospermia) ซึ่งเป็นผลกระทบจากภาวะท่อนำอสุจิตัน หรือความผิดปกติในการสร้างอสุจิ ในกรณีเหล่านี้ เราสามารถเก็บอสุจิโดยตรงจากอัณฑะหรืออวัยวะสืบพันธุ์เพื่อนำไปใช้ในกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก เช่น การทำเด็กหลอดแก้ว(IVF) หรือ(อิ๊กซี่ หรือการปฏิสนธินอกร่างกาย (ICSI)

TESA และ PESA คืออะไร?

TESA (Testicular Sperm Aspiration) และ PESA (Percutaneous Epididymal Sperm Aspiration) เป็นการผ่าตัดขนาดเล็กเพื่อเก็บอสุจิโดยตรงจากอัณฑะหรือท่อนำอสุจิในกรณีที่ไม่สามารถเก็บอสุจิได้จากการหลั่งปกติ

PESA: วิธีนี้ใช้เข็มขนาดเล็กในการดูดอสุจิโดยตรงจากท่อนำอสุจิ (Epididymis) ที่ขดอยู่เหนืออัณฑะ ซึ่งเป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่สร้างและเก็บอสุจิ การเก็บอสุจิด้วยวิธี PESA มักใช้ยาชาเฉพาะที่ เหมาะสำหรับผู้ชายที่มีภาวะท่อนำอสุจิตัน หรือเคยทำหมันถาวรมาก่อน

TESA: หากวิธี PESA ไม่ได้ผลหรือไม่สามารถเก็บอสุจิได้ แพทย์จะใช้วิธี TESA แทน โดยวิธีนี้ใช้เข็มเจาะเข้าไปในเนื้ออัณฑะเพื่อดูดเนื้อเยื่อที่มีอสุจิ เหมาะสำหรับผู้ชายที่มีภาวะตรวจไม่พบอสุจิแบบไม่ได้เกิดจากการอุดตันของทางเดินอสุจิ (Non-obstructive Azoospermia) ซึ่งเป็นภาวะที่ร่างกายผลิตอสุจิได้น้อยหรือไม่ได้เลย

ขั้นตอนต่าง ๆ และสิ่งที่ควรรู้ก่อนเข้ารับการรักษา

ทั้ง TESA และ PESA เป็นกระบวนการรักษาสำหรับผู้ป่วยนอก ดังนั้นคุณจึงสามารถกลับบ้านได้ในวันเดียวกัน ไม่จำเป็นต้องนอนค้างคืนที่โรงพยาบาล

การเตรียมตัว: แพทย์จะทำการตรวจร่างกายอย่างละเอียด รวมถึงซักประวัติและวินิจฉัย เพื่อเลือกวิธีที่เหมาะสมที่สุด

การให้ยาชา: คุณจะได้รับยาชาเฉพาะที่ เพื่อให้รู้สึกสบายตลอดกระบวนการรักษา

ขั้นตอนการรักษา

PESA: สำหรับวิธีนี้ แพทย์จะใช้เข็มขนาดเล็กเจาะเข้าไปในท่อนำอสุจิเพื่อดูดของเหลวที่มีอสุจิออกมา

TESA: วิธีนี้จะใช้เข็มเจาะเข้าไปในเนื้ออัณฑะเพื่อนำตัวอย่างเนื้อเยื่อออกมา จากนั้นจึงนำไปผ่านกระบวนการสกัดอสุจิ

การดูแลหลังทำหัตถการ: คุณอาจมีอาการปวดหรือบวมเล็กน้อย ซึ่งมักจะหายได้เองภายในไม่กี่วัน เราแนะนำให้สวมกางเกงชั้นในที่กระชับและหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ต้องออกแรงมากเป็นเวลา 48 ชั่วโมง

การนำอสุจิมาใช้งาน

อสุจิที่ได้จากกระบวนการ TESA หรือ PESA มักมีปริมาณน้อยและอาจเคลื่อนที่ได้ไม่ดีนัก ดังนั้นจึงนิยมใช้ร่วมกับเทคนิค ICSI หรือการฉีดอสุจิเข้าไปในเซลล์ไข่โดยตรง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาภาวะมีบุตรยากด้วยการปฏิสนธินอกร่างกาย (IVF) 

อัตราความสำเร็จของ TESA และ PESA

แม้ว่าประสิทธิภาพของ TESA และ PESA จะขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล แต่ก็เป็นทางเลือกที่มีประโยชน์สำหรับการเก็บอสุจิไว้ใช้งานหากคุณกำลังเผชิญปัญหาภาวะมีบุตรยากในเพศชาย คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราในกรุงเทพฯ พร้อมให้บริการด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัยและเทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อเพิ่มโอกาสสำเร็จของการปฏิสนธิในกระบวนการ ICSI ทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและนักวิทยาศาสตร์เพาะเลี้ยงตัวอ่อนของเรามุ่งมั่นที่จะมอบการรักษาที่มีประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อช่วยให้ความฝันในการมีลูกของคุณเข้าใกล้ความเป็นจริงมากขึ้น

TESA และ PESA เหมาะกับใคร?

การเก็บอสุจิด้วยวิธี TESA และ PESA เหมาะสำหรับผู้ชายที่มีภาวะดังต่อไปนี้:

ภาวะตรวจไม่พบอสุจิชนิดอุดตัน (Obstructive Azoospermia): ภาวะนี้เกิดจากการอุดตันในระบบสืบพันธุ์ เช่น ไม่มีท่อนำอสุจิตั้งแต่กำเนิด เคยทำหมันมาก่อน หรือมีการติดเชื้อที่ส่งผลต่อท่อนำอสุจิ

ภาวะตรวจไม่พบอสุจิชนิดไม่อุดตัน (Non-Obstructive Azoospermia): ภาวะนี้เกิดจากการที่ร่างกายผลิตอสุจิได้น้อยหรือไม่เพียงพอ

เคยผ่าตัดแก้หมันแต่ไม่สำเร็จ: กรณีนี้หมายถึงการที่ผู้ป่วยเคยทำหมันและผ่าตัดแก้หมันแต่ไม่ประสบความสำเร็จ หรือไม่สามารถทำการผ่าตัดแก้หมันได้

ประโยชน์ของ TESA และ PESA

การผ่าตัดมีขนาดเล็ก: TESA และ PESA เป็นหัตถการที่ไม่ซับซ้อน การผ่าตัดเกิดขึ้นในบริเวณเล็ก ๆ ทำให้ฟื้นตัวได้เร็ว

ไม่ต้องนอนโรงพยาบาล: หลังเข้ารับการรักษา คุณสามารถกลับบ้านได้ในวันเดียวกันโดยไม่ต้องนอนโรงพยาบาล ซึ่งช่วยลดผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน 

เพิ่มโอกาสในการมีบุตร: สำหรับผู้ที่ไม่สามารถตั้งครรภ์ได้เองตามธรรมชาติ แต่ต้องการมีบุตรที่สืบทอดพันธุกรรมของตนเอง TESA และ PESA เป็นทางเลือกที่สามารถช่วยคุณได้

ความเสี่ยงและข้อควรพิจารณา

แม้ว่า TESA และ PESA จะเป็นวิธีที่ปลอดภัย แต่ก็มีความเสี่ยงบางประการที่คุณควรตระหนัก ได้แก่:

อาการปวดและบวม: อาการเหล่านี้เป็นอาการชั่วคราวที่สามารถบรรเทาได้ด้วยยา

การติดเชื้อหรือเลือดออก: แม้จะเป็นอาการที่พบได้น้อยมาก แต่คุณสามารถลดความเสี่ยงได้ด้วยการเลือกเทคนิคที่เหมาะสมและดูแลตัวเองอย่างดีหลังการผ่าตัด 

อาจเก็บอสุจิได้ไม่เพียงพอ: ในบางกรณี TESA และ PESA อาจเก็บอสุจิได้ไม่เพียงพอ ทำให้ต้องพิจารณาทางเลือกอื่น

ก้าวต่อไปอย่างมั่นใจบนเส้นทางสู่การเป็นพ่อแม่

ที่ Bangkok Central Clinic เราเชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์และการเจริญเติบโตของตัวอ่อน ทีมแพทย์ของเรามีความชำนาญในการรักษาภาวะมีบุตรยากด้วยวิธีที่หลากหลาย ทำให้คุณมีโอกาสในการตั้งครรภ์สูงขึ้นด้วยเทคนิคที่เหมาะสำหรับสถานการณ์และร่างกายของคุณโดยเฉพาะ คลินิกของเราพร้อมดูแลคุณด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย กระบวนการวิเคราะห์ขั้นสูง รวมถึงสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับการปฏิสนธิ เพื่อให้คุณได้รับผลลัพธ์ที่ดีที่สุดจากการรักษาภาวะมีบุตรยากที่คลินิกของเรา

เราเข้าใจดีว่าสถานการณ์ของแต่ละคนไม่เหมือนกัน ทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญของเราจึงพร้อมดูแลคุณด้วยความใส่ใจ และนำเสนอทางเลือกที่เหมาะกับคุณโดยเฉพาะ TESA และ PESA เป็นวิธีเชื่อถือได้และเป็นความหวังของคู่รักและผู้คนอีกมากมายที่กำลังเผชิญกับภาวะมีบุตรยากในเพศชาย การทำความเข้าใจกระบวนการเหล่านี้จะช่วยให้คุณสามารถตัดสินใจได้อย่างรอบคอบเกี่ยวกับทางเลือกของตัวเอง และประสบความสำเร็จในการสร้างครอบครัวที่อบอุ่นค่ะ  

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

ภาวะอารมณ์ระหว่างการทำเด็กหลอดแก้ว
READ MORE

เคล็ดลับการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิตเพื่อปรับปรุงภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

บทบาทของยาแผนโบราณในการสนับสนุนภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

การย้ายตัวอ่อนรอบสด vs. แช่แข็ง แบบไหนเหมาะกับคุณ
READ MORE

สุขภาพของมดลูกสำคัญต่อความสำเร็จในการย้ายตัวอ่อนอย่างไร?
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE