HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

ภาวะอารมณ์ระหว่างการทำเด็กหลอดแก้ว
READ MORE

เคล็ดลับการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิตเพื่อปรับปรุงภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

บทบาทของยาแผนโบราณในการสนับสนุนภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?

31 ก.ค. 2024

ที่คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากของเราที่กรุงเทพฯ เราทราบว่า “เวลา” เป็นสิ่งสำคัญในการรักษาภาวะมีบุตรยาก ซึ่งหนึ่งในคำถามที่พบบ่อยที่สุดจากผู้ป่วยคือช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์ การทราบว่าควรนัดตรวจอัลตร้าซาวด์ช่วงไหน ไม่ว่าจะเป็นการติดตามรอบการตกไข่หรือประเมินผลการรักษาภาวะมีบุตรยาก ล้วนส่งผลต่อข้อมูลที่คุณจะได้รับ ในบทความนี้ เราจะมาสำรวจช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์และทำไมเวลาจึงเป็นสิ่งสำคัญ

วันไหนของรอบเดือนเหมาะกับการตรวจอัลตร้าซาวด์มากที่สุด

วัน​​ที่เหมาะสมสำหรับการตรวจอัลตร้าซาวด์ขึ้นอยู่กับสิ่งที่คุณต้องการตรวจหรือติดตาม ต่อไปนี้เป็นรายละเอียดของช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับสถานการณ์ต่างๆ

  • ติดตามการเติบโตของฟองไข่ (Follicle Tracking): ช่วงเวลาที่เหมาะสมสำหรับการติดตามการเติบโตของฟองไข่คือระหว่างวันที่ 10 ถึง 14 ของรอบเดือน ช่วงเวลานี้ช่วยให้เราติดตามการเติบโตของฟองไข่หลัก (dominant follicle) และคาดการณ์วันไข่ตกได้
  • ยืนยันการตกไข่ (Ovulation Confirmation): การตรวจอัลตร้าซาวด์เพื่อยืนยันการตกไข่จะมีประสิทธิภาพมากที่สุด 1-2 วันหลังจากวันไข่ตกที่คาดการณ์ไว้
  • ความหนาของเยื่อบุโพรงมดลูก (Endometrial Thickness): ควรนัดตรวจอัลตร้าซาวด์ระหว่างวันที่ 21-23 ของรอบเดือน ซึ่งเป็นช่วงที่เยื่อบุโพรงมดลูกหนาที่สุดตามปกติ

อย่างไรก็ตาม อย่าลืมว่านี่เป็นเพียงหลักการทั่วไป แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะมีบุตรยากของคุณอาจแนะนำช่วงเวลาที่แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับภาวะเฉพาะตัวและแผนการรักษาของคุณ

ที่มา: Fertility Space website

 

เวลาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์คือเมื่อไหร่?

เวลาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์ขึ้นอยู่กับรอบเดือนและจุดประสงค์ของการตรวจ ซึ่งสิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณามีดังต่อไปนี้

  • รอบเดือนปกติ (Regular Menstrual Cycles): หากคุณมีรอบเดือนปกติ 28 วัน การนัดตรวจจะง่ายขึ้น แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะมีบุตรยากของคุณสามารถเลือกวันที่เหมาะสมที่สุดได้ขึ้นอยู่กับสิ่งที่ต้องการตรวจ
  • รอบเดือนไม่ปกติ (Irregular Cycles): สำหรับผู้ที่มีรอบเดือนไม่ปกติ สิ่งสำคัญคือการติดต่อกับแพทย์ผู้ดูแลของคุณอย่างสม่ำเสมอ แพทย์อาจแนะนำให้นัดตรวจอัลตร้าซาวด์บ่อยขึ้น หรือแนะนำให้คุณติดตามอาการทางระบบสืบพันธุ์อย่างอื่นเพื่อช่วยในการตัดสินใจเลือกวันนัดที่เหมาะสม
  • การรักษาภาวะมีบุตรยาก (Fertility Treatments): หากคุณกำลังเข้ารับการรักษาภาวะมีบุตรยาก เช่น IVF หรือ IUI การนัดตรวจอัลตร้าซาวด์ของคุณจะถูกกำหนดอย่างรอบคอบตามแผนการใช้ยาและการรักษาของคุณ
  • นัดหมายช่วงเช้า (Morning Appointments): คลินิกผู้มีบุตรยากหลายแห่งจะนัดตรวจอัลตร้าซาวด์ช่วงเช้า เนื่องจากระดับฮอร์โมนในช่วงเช้ามักจะคงที่มากกว่า ส่งผลให้ผลการตรวจมีความน่าเชื่อถือมากขึ้น

เวลาไหนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?

เมื่อกล่าวถึง “เวลาที่ดีที่สุด” สำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์ เราไม่ได้หมายถึงวันในรอบเดือนเท่านั้น แต่ยังหมายถึงเวลาของวันด้วย ซึ่งสิ่งที่ควรพิจารณามีดังต่อไปนี้

การตรวจอัลตร้าซาวนด์แบบช่องคลอด (Transvaginal Ultrasounds): การตรวจประเภทนี้มักจะทำกับผู้ป่วยที่ปัสสาวะออกจนหมดแล้ว (empty bladder) เพื่อให้มองเห็นอวัยวะภายในได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนั้น การนัดหมายช่วงเช้าอาจเป็นประโยชน์มากกว่าเพราะโดยปกติแล้วคุณจะยังไม่ได้ปัสสาวะหลังตื่นนอน

ที่มา: NCI website

 

การตรวจอัลตร้าซาวนด์ผ่านหน้าท้อง (Abdominal Ultrasounds): หากจำเป็นต้องทำการตรวจอัลตร้าซาวด์ผ่านหน้าท้อง แพทย์อาจแนะนำให้คุณกลั้นปัสสาวะ (full bladder) ในกรณีนี้ การนัดหมายช่วงบ่ายอาจสะดวกและสบายกว่า

ที่มา: NCI website

 

ความผันผวนของฮอร์โมน (Hormone Fluctuations): ฮอร์โมนบางชนิด เช่น โพรเจสเทอโรน (progesterone) อาจมีการเปลี่ยนแปลงตลอดทั้งวัน แพทย์ของคุณอาจแนะนำช่วงเวลาที่เหมาะสม ขึ้นอยู่กับช่วงที่ระดับฮอร์โมนคงที่ที่สุดหรือตามความจำเป็นในการตรวจ

ตารางเวลาส่วนตัว (Personal Schedule): เป็นการนัดตรวจโดยพิจารณาตารางกิจวัตรประจำวันของคุณ เลือกช่วงเวลาที่คุณรู้สึกสบายและไม่เร่งรีบ เนื่องจากความเครียดอาจส่งผลต่อผลการตรวจบางอย่าง

ควรนัดตรวจอัลตร้าซาวด์ก่อนหรือหลังมีประจำเดือน?

การตัดสินใจนัดตรวจอัลตร้าซาวด์ก่อนหรือหลังมีประจำเดือนนั้นขึ้นอยู่กับสิ่งที่ต้องการตรวจ

การตรวจก่อนมีประจำเดือน:

  • เหมาะสำหรับการติดตามการเจริญเติบโตของฟองไข่ (follicle growth) และคาดการณ์วันไข่ตก (ovulation)
  • สามารถใช้เพื่อกำหนดช่วงเวลาที่เหมาะสมสำหรับการมีเพศสัมพันธ์หรือการรักษาภาวะมีบุตรยาก
  • สามารถช่วยตรวจสอบความผิดปกติของรังไข เช่น ซีสต์ของรังไข่ (ovarian cysts) ได้

การตรวจหลังมีประจำเดือน:

  • เหมาะสำหรับการประเมินความหนาของเยื่อบุโพรงมดลูก (endometrial thickness)
  • เหมาะสำหรับการตรวจการตั้งครรภ์ในระยะแรก
  • ให้ภาพของมดลูกที่ชัดเจนกว่า เนื่องจากไม่มีเลือดประจำเดือนมาบดบัง

ทั้งนี้ แพทย์ของคุณจะเป็นผู้พิจารณาว่าการตรวจอัลตร้าซาวด์ก่อนหรือหลังมีประจำเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับความต้องการเฉพาะตัวของคุณ

ปัจจัยที่อาจส่งผลต่อเวลาในการตรวจอัลตร้าซาวด์

มีหลายปัจจัยที่อาจส่งผลต่อการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์ของคุณ ซึ่งเวลาที่เหมาะสมสำหรับการตรวจอัลตร้าซาวด์นั้นขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการตรวจ ดังนั้น สิ่งสำคัญคือการพูดคุยกับแพทย์ของคุณเกี่ยวกับสิ่งที่คุณต้องการทราบจากการตรวจ

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนัดตรวจ ได้แก่

  • ความยาวของรอบเดือน (Individual Cycle Length): ช่วงเวลาของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในระบบสืบพันธุ์ (Key Reproductive Events) ขึ้นอยู่กับความยาวของรอบเดือนของคุณเอง
  • ผลข้างเคียงของยา (Medication Effects): หากคุณกำลังใช้ยาเพื่อรักษาภาวะมีบุตรยาก ยาเหล่านี้อาจส่งผลต่อรอบเดือนของคุณ ซึ่งส่งผลต่อช่วงเวลาที่เหมาะสมสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์
  • ผลการตรวจครั้งก่อน (Previous Test Results): แพทย์ของคุณอาจปรับเปลี่ยนช่วงเวลาที่เหมาะสมสำหรับการตรวจอัลตร้าซาวด์ ขึ้นอยู่กับผลการตรวจอัลตร้าซาวด์หรือผลเลือดครั้งก่อนของคุณ
  • ประเภทของการรักษาภาวะมีบุตรยาก (Type of Fertility Treatment): ขั้นตอนการรักษาที่แตกต่างกัน เช่น IUI, IVF และการติดตามรอบเดือนแบบธรรมชาติ (Natural Cycle Tracking) จะมีช่วงเวลาที่เหมาะสมสำหรับการตรวจอัลตร้าซาวด์ที่แตกต่างกัน

การเตรียมตัวสำหรับการตรวจอัลตร้าซาวด์

เพื่อให้ผลการตรวจอัลตร้าซาวด์ออกมาแม่นยำที่สุด คุณควรปฏิบัติตามคำแนะนำในการเตรียมตัวดังต่อไปนี้

  1. ปฏิบัติตามคำแนะนำ (Follow Instructions): ปฏิบัติตามคำแนะนำใดๆ ก่อนเข้ารับการนัดหมายที่ทางคลินิกแจ้งให้คุณทราบอย่างเคร่งครัด
  2. ดื่มน้ำให้เพียงพอ (Stay Hydrated): เว้นแต่แพทย์จะแนะนำเป็นอย่างอื่น ให้ดื่มน้ำให้เพียงพอในช่วงก่อนวันนัดหมายของคุณ
  3. สวมใส่เสื้อผ้าที่สบาย (Wear Comfortable Clothes): สวมใส่เสื้อผ้าที่หลวมและสบาย ทำให้แพทย์สามารถทำการตรวจได้ง่าย
  4. จัดการความเครียด (Stress Management): ผ่อนคลายก่อนและระหว่างการตรวจ เพื่อให้ผลการตรวจมีประสิทธิภาพมากที่สุด
  5. พาคู่รักหรือเพื่อนมาด้วย (Bring a Partner or Friend): การมีคนมาคอยให้กำลังใจอาจเป็นประโยชน์ต่อตัวคุณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากคุณคาดว่าผลการตรวจจะมีผลต่อการตัดสินใจของคุณ

ที่มา: Sonography Canada website

 

ตารางการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์สำหรับคุณโดยเฉพาะ

บทความนี้ได้ให้คำแนะนำคร่าว ๆ เกี่ยวกับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์ อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ของแต่ละคนอาจแตกต่างกัน ซึ่งคุณควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะมีบุตรยากของคุณเพื่อรับคำแนะนำที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น

ที่ Bangkok Central Clinic เรามุ่งมั่นที่จะให้การดูแลตามความต้องการเฉพาะบุคคล โดยคำนึงถึงรอบเดือนตามธรรมชาติและเป้าหมายด้านการสืบพันธุ์ของคุณ ช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์จึงขึ้นอยู่กับสภาพร่างกาย รอบเดือนของคุณ และข้อมูลที่คุณและแพทย์ต้องการทราบ

เมื่อได้ทำงานร่วมกับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านภาวะมีบุตรยากของเราแล้ว คุณสามารถมั่นใจได้ว่าการตรวจอัลตร้าซาวด์จะถูกนัดหมายอย่างเหมาะสมเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีประโยชน์สูงสุดต่อการเส้นทางการรักษาของคุณ ทั้งนี้ โปรดอย่าลืมว่าผู้ป่วยแต่ละรายมีความแตกต่างกัน และสิ่งที่เหมาะสมที่สุดสำหรับคนหนึ่งอาจไม่เหมาะสมสำหรับอีกคนหนึ่ง

หากคุณมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์ หรือต้องการนัดหมาย โปรดอย่างลังเลที่จะติดต่อเรา ทีมงานคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากในกรุงเทพของเรายินดีให้ความช่วยเหลือคุณในทุกขั้นตอนตลอดเส้นทางสู่การเป็นแม่ 

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

ภาวะอารมณ์ระหว่างการทำเด็กหลอดแก้ว
READ MORE

เคล็ดลับการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิตเพื่อปรับปรุงภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

บทบาทของยาแผนโบราณในการสนับสนุนภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE