HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

ภาวะอารมณ์ระหว่างการทำเด็กหลอดแก้ว
READ MORE

เคล็ดลับการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิตเพื่อปรับปรุงภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

บทบาทของยาแผนโบราณในการสนับสนุนภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ TESA และ PESA
READ MORE

สุขภาพของมดลูกสำคัญต่อความสำเร็จในการย้ายตัวอ่อนอย่างไร?
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE

การย้ายตัวอ่อนรอบสด vs. แช่แข็ง แบบไหนเหมาะกับคุณ

13 มี.ค. 2025

ที่คลินิกรักษาผู้มีบุตรยากอย่าง Bangkok Central Clinic เราเข้าใจดีว่าการรักษาภาวะมีบุตรยากด้วยวิธีปฏิสนธินอกร่างกาย (IVF) ต้องมีหลายเรื่องให้คิด หนึ่งในนั้นคือการเลือกว่าจะย้ายตัวอ่อนรอบสด หรือรอบแช่แข็ง ซึ่งทั้งสองวิธีมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกัน ในบทความนี้ เราจะอธิบายถึงทั้งสองวิธีอย่างละเอียดและเข้าใจง่าย เพื่อให้คุณสามารถตัดสินใจเลือกสิ่งที่เหมาะกับตัวเองมากที่สุดค่ะ

การย้ายตัวอ่อนคืออะไร?

การย้ายตัวอ่อน (Embryo Transfer) เป็นขั้นตอนสำคัญของกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว IVF โดยหลังจากที่แพทย์ทำการเก็บไข่และนำมาปฏิสนธิกับอสุจิในห้องปฏิบัติการจนได้ตัวอ่อนมาแล้ว ตัวอ่อนนั้นสามารถถูกย้ายกลับเข้าสู่โพรงมดลูกทันที เราเรียกว่าวิธีนี้ว่าการย้ายตัวอ่อนรอบสด แต่หากเลือกแช่แข็งตัวอ่อนนั้นไว้เพื่อใช้ในอนาคต เราจะเรียกวิธีนี้ว่าการย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็ง ทั้งสองวิธีมีข้อดีแตกต่างกัน และสามารถเลือกให้เหมาะสำหรับแต่ละบุคคล 

การย้ายตัวอ่อนรอบสดคืออะไร?

การย้ายตัวอ่อนรอบสด หรือ Fresh Embryo Transfer คือการย้ายตัวอ่อนกลับเข้าสู่โพรงมดลูกภายใน 5 วันหลังการปฏิสนธิ ด้วยระยะเวลาเพียง 5 วันนับจากวันที่เก็บไข่จนถึงวันย้ายตัวอ่อน วิธีนี้จึงช่วยให้ตั้งครรภ์ได้เร็วขึ้น ไม่ต้องรอนาน

การย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็งคืออะไร?

การย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็ง หรือ Frozen Embryo Transfer (FET) คือกระบวนการนำตัวอ่อนที่ถูกแช่แข็งไว้มาใช้ในการตั้งครรภ์ภายหลัง วิธีนี้ช่วยให้คุณสามารถเลือกช่วงเวลาที่โพรงมดลูกมีสภาพแวดล้อมเหมาะสมกับการฝังตัวอ่อนมากที่สุด หรือกำหนดวันในการย้ายตัวอ่อนตามความสะดวกได้ 

ข้อดีของการย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็งคือช่วยให้คุณมีเวลาพักฟื้นจากกระบวนการกระตุ้นไข่ที่อาจทำให้เหนื่อยล้าทั้งทางร่างกายและอารมณ์ นอกจากนี้ การย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็งยังเปิดโอกาสให้คุณได้ตรวจคัดกรองพันธุกรรมก่อนการฝังตัว (PGT) เพื่อคัดเลือกตัวอ่อนที่แข็งแรงที่สุด ทำให้โอกาสในการตั้งครรภ์สูงขึ้น และช่วยให้ผลลัพธ์การรักษาดีขึ้น

กระบวนการแช่แข็งตัวอ่อนทำงานอย่างไร?

การแช่แข็งตัวอ่อน หรือ Cryopreservation เป็นกระบวนการทำให้ตัวอ่อนมีอุณหภูมิเย็นลงอย่างรวดเร็วด้วยวิธี Vitrification เทคนิคนี้จะช่วยป้องกันการก่อตัวของผลึกน้ำแข็งที่อาจทำให้เซลล์เสียหาย ปัจจุบันเทคโนโลยีการแช่แข็งตัวอ่อนมีการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำให้ตัวอ่อนที่ถูกแช่แข็งมีอัตรารอดชีวิตสูงขึ้นมากเมื่อนำมาละลายเพื่อใช้งาน ดังนั้นการย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็งจึงเป็นทางเลือกที่เชื่อถือได้สำหรับหลาย ๆ คนที่ต้องการเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์ 

เปรียบเทียบอัตราความสำเร็จ

ข้อมูลจากงานวิจัยใหม่ ๆ บ่งชี้ว่าการย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็งมีโอกาสที่จะทำให้ตั้งครรภ์สำเร็จมากกว่าการย้ายตัวอ่อนรอบสด เนื่องจากการย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็งมีช่วงเวลาให้คุณได้เตรียมโพรงมดลูกให้พร้อมที่สุดก่อนการย้ายตัวอ่อน และยังสามารถคัดเลือกตัวอ่อนที่แข็งแรงที่สุดได้อีกด้วย

ความท้าทายของแต่ละวิธี

การย้ายตัวอ่อนรอบสดมีข้อดีคือสามารถทำได้รวดเร็วกว่ารอบแช่แข็ง แต่โอกาสการฝังตัวอาจต่ำกว่า เนื่องจากสภาพแวดล้อมของโพรงมดลูกอาจยังไม่พร้อมเต็มที่สำหรับการรับตัวอ่อน ในขณะที่การย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็งนั้นแม้ว่าจะสามารถเตรียมความพร้อมของร่างกายได้ดีกว่า แต่ก็ต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายมากขึ้นในการแช่แข็งและเก็บรักษาตัวอ่อน ซึ่งอาจไม่ใช่ทางเลือกที่เหมาะสำหรับทุกคน

ใครเหมาะกับวิธีไหน?

การย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็งเหมาะสำหรับผู้ที่มีภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (Endometriosis) หรือมีระดับฮอร์โมนสูงระหว่างกระตุ้นไข่ เพราะช่วยให้ร่างกายได้พักฟื้นก่อนการตั้งครรภ์ ส่วนการย้ายตัวอ่อนรอบสดเหมาะสำหรับผู้ที่อายุน้อยหรือไม่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับฮอร์โมนและมดลูก เพราะสามารถย้ายตัวอ่อนได้ทันทีโดยไม่ต้องรอ

ปัจจัยที่ต้องพิจารณา

เมื่อคุณต้องตัดสินใจเลือกระหว่างการย้ายตัวอ่อนรอบสดและรอบแช่แข็ง ปัจจัยต่อไปนี้คือสิ่งที่ต้องพิจารณาค่ะ:

สุขภาพร่างกาย: หากคุณมีภาวะที่ต้องระวัง เช่น ความเสี่ยงต่อภาวะรังไข่ถูกกระตุ้นมากเกินไป (OHSS) การเลือกย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็งอาจเป็นทางเลือกที่ปลอดภัยกว่า

ความสะดวก: การย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็งช่วยให้คุณสามารถกำหนดเวลาที่เหมาะสมกับตัวเองได้

ความแข็งแรงของตัวอ่อน: สำหรับการย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็ง ตัวอ่อนบางส่วนอาจไม่แข็งแรงพอที่จะรอดชีวิตจากกระบวนการแช่แข็งและละลาย ทำให้ตัวอ่อนที่เหลือสำหรับการย้ายมีจำนวนน้อยลง

ค่าใช้จ่าย: การย้ายตัวอ่อนรอบแช่แข็งมักมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม เช่น ค่าเก็บรักษาและละลายตัวอ่อน ถึงแม้จะเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าเพื่อเพิ่มโอกาสสำเร็จในการตั้งครรภ์ แต่ก็อาจไม่เหมาะสำหรับทุกคน

HIGHLIGHTS

20 ธันวาคม 2020

ว่ายน้ำ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โยคะ
READ MORE

เราควรพิจารณาอะไรบ้างก่อนเริ่มทำเด็กหลอดแก้ว?
READ MORE

การทำเด็กหลอดแก้วใช้เวลานานแค่ไหน?
READ MORE

ข้อดี และ ข้อเสีย ของการทำ IVF
READ MORE

การฉีดวัคซีนโควิด 19 มีผลต่อการทำเด็กหลอดแก้วหรือไม่
READ MORE

ยกน้ำหนัก
READ MORE

19 ธันวาคม 2020

เดินเร็ว
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

Kegels
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

5 ท่าโยคะสำหรับคู่รัก เสริมความสัมพันธ์ชีวิตคู่อัพเลเวลความฟินเรื่องบนเตียง
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

มีเพศสัมพันธ์บ่อยน้ำเชื้อจะอ่อนลงจริงหรือ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โฟเลตสารอาหารสำคัญก่อนฝากไข่-ฝากอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

โปรตีนสารอาหารสำคัญของผู้หญิงเตรียมตั้งครรภ์-เตรียมฝากไข่
READ MORE

อาหารเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการที่ควรกินก่อนทำ ICSI (อิ๊กซี่)
READ MORE

อายุเกิน 40 ควรพิจารณาการทำ IVF ดีมั้ย?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

7 ขั้นตอนดูแลตัวเองและภรรยาก่อนการเก็บไข่-เก็บอสุจิ
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

CoQ10 สารอาหารสำคัญหญิงเตรียมตั้งครรภ์
READ MORE

ICSI มาแล้ว 10 ครั้ง 4 แห่ง
READ MORE

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

อะไรคือสาเหตุของภาวะมีบุตรยาก?
READ MORE

ไข่ที่ถูกแช่แข็งสามารถถูกเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าไหร่?
READ MORE

TESE คืออะไร และ TESE เหมาะกับใคร?
READ MORE

ทำไมการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จึงสำคัญสำหรับทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง?
READ MORE

20 ธันวาคม 2020

4 วิธีการปฏิบัติตัวช่วงวางแผนตั้งครรภ์
READ MORE

04 มิถุนายน 2022

Congratulations Take the first step to the parenthood with BCC
READ MORE

กระบวนการเลือกคลินิกรักษาผู้มีบุตรยากและสิ่งที่ต้องพิจารณาเมื่อตัดสินใจ
READ MORE

ความสำคัญของการดูแลสุขภาพจิตระหว่างการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

ทำไมประเทศไทยจึงกลายเป็นจุดหมายหลักของตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสำหรับผู้มีบุตรยาก
READ MORE

การตั้งครรภ์และโรคภูมิแพ้: วิธีจัดการและป้องกัน
READ MORE

IVF คืออะไร?
READ MORE

อิ๊กซี่ (ICSI) คืออะไร: ภาพรวมของกระบวนการและผลลัพธ์
READ MORE

IUI คืออะไร? ทำความเข้าใจกับการฉีดอสุจิเข้าโพรงมดลูก
READ MORE

เคล็ด(ไม่)ลับ เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเริ่มต้นครอบครัว
READ MORE

ภาวะมีบุตรยาก มีลูกลำบาก เกิดจากอะไร
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากในเพศชาย : การทำความเข้าใจถึงสาเหตุ การทดสอบ และทางเลือกในการรักษา
READ MORE

เคล็ดลับในการจัดการความเครียดในขณะพยายามตั้งครรภ์
READ MORE

เส้นทางสู่การเป็นคุณพ่อคุณแม่ด้วยกระบวนการรักษาภาวะมีบุตรยาก
READ MORE

วิทยาศาสตร์กับการทำ ICSI: มีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร?
READ MORE

ภาวะมีบุตรยากแบบทุติยภูมิ: การทำความเข้าใจถึงความท้าทายของการตั้งครรภ์ครั้งที่สอง
READ MORE

การรักษาภาวะการเจริญพันธุ์: ตัวเลือกและข้อพิจารณาสำหรับคุณและคู่รักของคุณ
READ MORE

ความเสี่ยงและประโยชน์ของกระบวนการทำ TESE ในการรักษาภาวะมีบุตรยากในชาย
READ MORE

แท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

การตรวจพันธุกรรมตัวอ่อนก่อนฝังตัว (PGT) คืออะไรและมีประโยชน์ยังไง?
READ MORE

ทำความเข้าใจการตั้งครรภ์ลูกแฝดจากกระบวนการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF)
READ MORE

หากเคยแท้งบุตร อยากท้องใหม่ยากไหม? ข้อพิจารณาด้านอารมณ์และด้านการแพทย์
READ MORE

จุดหมายหลักของการรักษา IVF: ทำไมกรุงเทพฯ จึงกลายเป็นจุดหมายอันดับต้น ๆ ในการรักษาภาวะมีบุตรยากของชาวต่างชาติ
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคและประสบความสำเร็จในการทำ IVF ที่กรุงเทพฯ
READ MORE

การทำ IVF, ICSI, IUI และการรับบุตรบุญธรรมเพื่อสร้างครอบครัวในกรุงเทพฯ
READ MORE

5 เคล็ดลับเกี่ยวกับสารอาหารที่คุณแม่ตั้งครรภ์มือใหม่ต้องรู้
READ MORE

ทำไมกรดโฟลิกจึงสำคัญสำหรับว่าที่คุณแม่?
READ MORE

วิธีแก้ปัญหาสำหรับคุณผู้หญิงเมื่อเกิดภาวะไข่น้อย รังไข่เสื่อม และระดับฮอร์โมน AMH ต่ำ
READ MORE

ตั้งครรภ์แล้วออกกำลังกายได้ไหม
READ MORE

ช่วงไหนของเดือนเหมาะสมที่สุดสำหรับการนัดตรวจอัลตร้าซาวด์?
READ MORE

ทำ IUI, IVF, และ ICSI จำเป็นต้องมีทะเบียนสมรสไหม?
READ MORE

การเอาชนะอุปสรรคในการตั้งครรภ์
READ MORE

ระยะเวลาในการทำ IVF: ตั้งแต่การปรึกษาครั้งแรกจนถึงการตั้งครรภ์
READ MORE

ภาวะอารมณ์ระหว่างการทำเด็กหลอดแก้ว
READ MORE

เคล็ดลับการรับประทานอาหารและการใช้ชีวิตเพื่อปรับปรุงภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

บทบาทของยาแผนโบราณในการสนับสนุนภาวะเจริญพันธุ์
READ MORE

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ TESA และ PESA
READ MORE

สุขภาพของมดลูกสำคัญต่อความสำเร็จในการย้ายตัวอ่อนอย่างไร?
READ MORE

28 พฤษภาคม 2020

การมีลูกตามวิธีธรรมชาติ
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

บันทึกข้อมูลรอบประจำเดือนอย่างสม่ำเสมอ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

สังเกตการตกไข่
READ MORE

22 ธันวาคม 2021

ยินดีต้อนรับสมาชิกใหม่
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เลิกนิสัยสูบบุหรี่และดื่มแอลกอฮอล์จัด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

เว้นจากการออกกำลังกายหนักหน่วง
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รับประทานวิตามินเสริมก่อนคลอด
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รักษาน้ำหนักให้ร่างกายมีสุขภาพดี
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

ระวังเรื่องภาวะการเสื่อมลงที่เกี่ยวข้องกับอายุ
READ MORE

27 พฤษภาคม 2020

รู้ว่าเมื่อไหร่ที่จะต้องความช่วยเหลือ
READ MORE